หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
เหตุใดที่ หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนเวไนยสัตว์โดย อนุปุพพิกถา เป็นหัวข้อธรรมแรก
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
พระพุทธเจ้า
โดยขยายมี 5 ข้อ ดังนี้
๑. ทานกถา พรรณนาคุณแห่งทาน
๒. สีลกถา พรรณนาคุณแห่งศีล
๓. สัคคกถา พรรณนาถึงสวรรค์ คือความสุขที่สั่งสม 2 ข้อข้างต้น
๔. กามาทีนวกถา พรรณนาโทษของกาม
๕. เนกขัมมานิสังสกถา พรรณนาอานิสงส์แห่งการออกจากกาม โดยการออกบวช
ขอขอบคุณภาพจาก อ.เหม เวชกร
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
💐อนุปุพพิกถา... ธรรมะที่เลิศยิ่งกว่า ขึ้นสวรรค์💐
ได้เห็นภาพนี้ได้ถูกจัดทำเป็นแผ่นภาพที่น่าสนใจมากครับ เพราะเป็นการแสดงพระธรรมเทศนา ให้แก่ผู้ที่แสวงหาความสุข ความหลุดพ้น รวมทั้งมีการขยายความด้วย (อาจจะยาวสักนิด แต่เพื่อความครบถ้วนในเนื้อหา) เรียนเชิญ
สมาชิกหมายเลข 733938
ศึกษา อนุปุพพิกถา ๕ ให้ดี ก่อนที่จะศึกษาอริยสัจ ๔ นะครับ
อนุปุพพิกถา ๕ นั้นเป็นธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเพื่อฟอกอัธยาศัยของบุคคล ผู้ฟังให้มีความประณีตขึ้นไปโดยลำดับ ถ้าหากว่าผู้ฟังสามารถที่จะชำระกิเลสของตนให้เบาบางลงได้ ตามที่ทรงแสดงแล้ว ต่อไปก็จะแสดง
เจตวิมุติ
ควรสร้างพระพุทธรูปหรือไม่...? #พระมหาสมบูรณ์ ฉันทโก วัดเขาสนามชัย
พระพุทธรูป มีความหมายอย่างไรในทางพุทธศาสนา เชิญฟังได้ตามคลิป https://www.youtube.com/watch?v=wipSMxOoWks ควรสร้างพระพุทธรูปหรือไม่...? #พระมหาสมบูรณ์ ฉันทโก วัดเขาสนามชัย https
ทำหมู
อนุปุพพิกถา ๕ อีกครั้ง (ความจริงที่บอกไม่หมดนี้ แย่ยิ่งกว่า มุสาวาท เสียอีก)
สำนักที่สอน ทาน ศีล สัคคกถา (สวรรค์) สอนแค่นี้แล้วละไว้ ในปัจจุบันมีเยอะมาก ทำให้คนที่มีปัญญาทรามหลงงมงายจนโงหัวไม่ขึ้นได้ง่ายมาก เพราะสิ่งที่สอนนั้นดันเป็นความจริง เป็นพุทธพจน์จริง พิสูจน์ได้จริง
เจตวิมุติ
เรียงความกระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี ฉบับพิมพ์
เลขที่ 00 ประโยคธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา เรียงความแก้กระทู้ธรรม สอบในสนามหลวง วันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2551 สุโข ปุญญสส อุจจโย การสั่งสมขึ้นซึ่งบุญ นำสุขมาให้ บัดนี้ จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระ
สมาชิกหมายเลข 8485789
ทำไมจึงทรงแสดง (ขันธ์5) รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เรียงตามลำดับ?
นัยโดยลำดับ ในนัย 6 ประการนั้น ในข้อว่า "โดยลำดับ" นี้มีวินิจฉัยว่า ลำดับมีมากอย่างคือ ลำดับแห่งความเกิดขึ้น ลำดับแห่งการละ ลำดับแห่งการปฏิบัติ ลำดับแห่งภูมิ ลำดับแห่งการแสดง ในลำดับ 5 อย่าง
สมาชิกหมายเลข 8485789
ความเข้าใจ "อนุปุพพิกถา ๕" อย่างลุ่มลึก
อนุปุพพิกถา ๕ คือ ธรรมที่กล่าวเป็นไปโดยธรรมลำดับ หรือธรรมที่สิ่งเนื้อความอย่างลุ่มลึกเรียงไปโดยลำดับ เพื่อขัดเกล่าอัธยาศัยของผู้ฟัง (progressive sermon; graduated sermon; subjects for gradual instruct
พรหมสิทธิ์
อยากไปเกิดที่สวรรค์ชั้นที่ 5 ต้องทำไง?
ตามหัวข้อเลยครับ เอาจริงๆผมก็พยายาม ทำบุญใหญ่ๆนั่งสมาธิ รักษาศีล และทำสังฆทานวิหารทานธรรมทาน เป็นส่วนใหญ่ ตอนทำก็อธิษฐานขอไปนิพพานในชาตินี้บ้าง แต่ไม่ค่อยมั่นใจว่าจะไปได้เท่าไหร่เพราะยังเลวและมีความติ
สมาชิกหมายเลข 6100297
- ทำประโยชน์ให้โลก ไม่ต้องเดินแจกข้าวพันกล่องก็ได้ เพราะศีล สูงกว่าทาน -
จริงอยู่ เราอาจไม่มีเงินมากพอที่จะทำแบบยูทูปเบอร์หลายคนที่เอาเงินเป็นหมื่นแจกของช่วยน้ำท่วม แจกข้าวเป็นร้อยกล่องช่วยคนไร้บ้าน หรือสร้างบ้านให้คนจน แต่ต้องไม่ลืมว่าศีล สูงกว่าทาน ดังนั้น แม้เราจะให้ทา
สมาชิกหมายเลข 8293546
หลักในการแสดงธรรม
ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม เขตกรุงโกสัมพี สมัยนั้น
สมาชิกหมายเลข 869744
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
พระพุทธเจ้า
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ : 102
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
เหตุใดที่ หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนเวไนยสัตว์โดย อนุปุพพิกถา เป็นหัวข้อธรรมแรก
๑. ทานกถา พรรณนาคุณแห่งทาน
๒. สีลกถา พรรณนาคุณแห่งศีล
๓. สัคคกถา พรรณนาถึงสวรรค์ คือความสุขที่สั่งสม 2 ข้อข้างต้น
๔. กามาทีนวกถา พรรณนาโทษของกาม
๕. เนกขัมมานิสังสกถา พรรณนาอานิสงส์แห่งการออกจากกาม โดยการออกบวช
ขอขอบคุณภาพจาก อ.เหม เวชกร