ชื่อว่าวินัยมี ๒ อย่าง ในวินัย ๒ อย่างนี้ วินัย
ข้อหนึ่งๆ มี ๕ อย่าง เพราะไม่มีวินัยนั้น ท่านจึง
กล่าวว่าผู้นี้ไม่ได้รับแนะนำ.
จริงอยู่ วินัยนี้มี ๒ อย่าง คือ สังวรวินัย ๑ ปหานวินัย ๑.
ในวินัยแม้ ๒ อย่างนี้วินัยข้อหนึ่งๆ แบ่งเป็น ๕ อย่าง.
แม้สังวรวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ
ศีลสังวร ๑ สติสังวร ๑ ญาณสังวร ๑ ขันติสังวร ๑ วีริยสังวร ๑.
แม้ปหานวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ
ตทังคปหาน ๑ วิกขัมภนปหาน ๑ สมุจเฉทปหาน ๑ ปฏิปัสสัทธิปหาน ๑ นิสสรณปหาน ๑.
ในสังวรวินัยนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
ภิกษุเข้าถึง เข้าถึงพร้อมด้วยปาฏิโมกขสังวร นี้ชื่อว่า
ศีลสังวร.
ภิกษุรักษาจักขุนทร์ถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์ นี้ชื่อว่า
สติสังวร.
สติเป็นเครื่องกั้นกระแสในโลก เรากล่าวสติว่า
เป็นเครื่องกั้นกระแสทั้งหลาย กระแสเหล่านั้น
ย่อมปิดได้ด้วยปัญญา. นี้ชื่อว่า
ญาณสังวร.
ผู้นี้ไม่ได้รับแนะนำ.
ข้อหนึ่งๆ มี ๕ อย่าง เพราะไม่มีวินัยนั้น ท่านจึง
กล่าวว่าผู้นี้ไม่ได้รับแนะนำ.
จริงอยู่ วินัยนี้มี ๒ อย่าง คือ สังวรวินัย ๑ ปหานวินัย ๑.
ในวินัยแม้ ๒ อย่างนี้วินัยข้อหนึ่งๆ แบ่งเป็น ๕ อย่าง.
แม้สังวรวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ
ศีลสังวร ๑ สติสังวร ๑ ญาณสังวร ๑ ขันติสังวร ๑ วีริยสังวร ๑.
แม้ปหานวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ
ตทังคปหาน ๑ วิกขัมภนปหาน ๑ สมุจเฉทปหาน ๑ ปฏิปัสสัทธิปหาน ๑ นิสสรณปหาน ๑.
ในสังวรวินัยนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
ภิกษุเข้าถึง เข้าถึงพร้อมด้วยปาฏิโมกขสังวร นี้ชื่อว่า ศีลสังวร.
ภิกษุรักษาจักขุนทร์ถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์ นี้ชื่อว่า สติสังวร.
สติเป็นเครื่องกั้นกระแสในโลก เรากล่าวสติว่า
เป็นเครื่องกั้นกระแสทั้งหลาย กระแสเหล่านั้น
ย่อมปิดได้ด้วยปัญญา. นี้ชื่อว่า ญาณสังวร.