“ตามหลักแท้จริง เราควรจะต้องถือว่า กฎหมาย คือส่วนหนึ่งของมุข เป็น มุขคือวินัย เราไม่ควรนับว่า กฎหมายคือ มุข อันนำไปสู่อบาย คืออบายมุข, เพราะควรจะต้องเห็นว่า สภาพเร้นลับภายใต้การดลใจจากที่ประชุมอันนั้น อันใดอันหนึ่ง ย่อมมีสิ่งแฝงเร้นตามปกติที่เรียกว่า เพื่อสัจจะและเพื่อการบรรลุสัจจะ อีกทั้งยังเป็นอุปกรณ์ เป็นเครื่องมืออำนวยเหตุการณ์ สาเหตุเหตุการณ์ ให้เกิดการสำแดงธรรมที่เรียกชื่อว่า “ราชธรรม” ให้หลั่งไหลไปสู่นาวา พาประชาชน ให้ราษฎรไปสู่คลองใจ ที่เรียกว่าครรลองของธรรม ในที่มีอยู่ทั้ง ๑๐ ประการ, ซึ่งเกิดขึ้นอยู่กับปรากฎการณ์ในจิตใจของบุคคลนั้นในแต่ละราย ว่าอยู่ในความมุ่งหมายใดของวินัย ซึ่งคือมุข (กฎหมาย) อันที่ออกมาจากฐาน คือปทัฏฐานอันนั้น ที่จะนำไปสู่การคลองธรรมใดใด ชนิดที่จะ ให้มนุษย์ผู้นั้นได้ครองตน ครองสมบัติในโลกไว้ ในนามของมนุษย์ ให้คงที่ในความที่ได้ประกอบตนอยู่ซึ่งมนุษยสมบัติ ไปจนกว่าจะจบสิ้นกระบวนการ
จะเห็นได้ว่า การบรรลุวัตถุประสงค์ในทางกฎหมาย เป็นการบรรลุคุณธรรมใน ๑๐ ประการนั้นของบุคคล ที่สุดแล้วให้เป็นการก้าวไปสู่บรมสัจจะ ที่จะปรากฏได้ในมนุษย์, การเกิดขึ้นของกฎหมายหรือกระบวนการทางกฎหมาย จึงเป็นเรื่อง ของการมีสิ่งค้ำประกันที่ล้ำเลิศ คือมุขจากฐานของเหตุการณ์นั้น ในโลก ในสังคม ที่ถือว่าจะต้องมีอบายและสิ่งเลวร้ายอยู่ด้วยเสมอ แต่! วินัยมุขที่เป็นบัญญัติบัตรหมาย ของเหตุการณ์นั้น เป็นสิ่งที่จะพาบุคคลไปสู่คลองธรรม และการขจัดสิ่งเลวร้าย ที่ให้มีชื่อเรียกว่า อธรรม และอยุติธรรม ให้หมดไป, ฉะนั้น จึงเชื่อถือกันว่า การยอมให้เกิดขึ้นซึ่งกระบวนการณ์ทางกฎหมาย จึงเชื่อ และนับถือกันว่าเป็นสิ่งดี เพราะจะต้องถือว่าคุณค่าแห่งยุคสมัยที่จะบรรลุคุณธรรมชนิดนั้นๆ ได้เกิดขึ้นแล้ว
แต่การที่คนไม่ได้มองถึงจุดสิ้นสุดของกระบวนการ ที่ตกลงด้วยกันของกลุ่มอารยธรรม มักจะทำให้ไม่อาจเล็งเห็นถึงสันตินิทานที่ปรากฏอยู่ด้วยดีในกฎหมาย และพบว่าการการันตีเพียงชั่ววูบนั่นเอง ก็มักจะเป็นสาเหตุให้นำพาสิ่งต่างๆไปสู่เป้าหมายที่ผิดประเด็น โดยมิพักจะให้สอบถามถึงข้อเท็จจริงได้เลย ว่าการสมมุติให้บรรลุข้อตกลงในทางกฎหมายนั้น ตามเหตุการณ์นั้น จะนำไปสู่บทแห่งราชวินัย ในทั้ง ๑๐ ประการนั้นด้วยข้อใดบ้าง แก่การณ์ที่คนจะได้บำเพ็ญตน ให้มีปฏิรูปประเทศตามประกาศ ปัจจุบัน, กฎหมายจึงมักจะให้ความศิวิไลซ์ไม่ได้ในทางปฏิบัติ ด้วยภาพ, พอแต่ว่าศิวาลัยแห่งราโชบาย ที่ใดไม่มาปรากฏด้วยอย่างพอเพียงที่นั่นแล้ว ยุติธรรมก็ย่อมจะไม่ปรากฏ, กฎหมายที่ประกาศตนตามธรรมนูญอันใดอันหนึ่ง ในโลก จึงเป็นเหมือนบทภาคย์สะท้อน ให้เห็น เป็นภาพของความอยุติธรรม ซึ่งผิดความหมายไปจากแท้จริง, อาจเพราะว่า มุข คือวินัยนั้น ถูกสอบถาม เทียบเคียง ด้วยมีปฏิรูปตามประกาศมา ยังไม่เพียงพอ ผู้กระทำผิดตามบทบัญญัติ จึงยังมิอาจประกาศตนสู่การยอมรับที่จะบรรลุคุณธรรมใน ๑๐ ประการอย่างนั้น อย่างไรอย่างหนึ่งให้เกิดขึ้น
ทั่วๆไป ทุกๆคนจึงยังเห็นว่า กฎหมายอาจถูกตั้งขึ้นอย่างอยุติธรรม ทั้งที่ปฏิรูป (มุข) ของเหตุการณ์ทางกฎหมายนั้น มีทางให้สถิตมั่น และอาจให้ได้มีทางรับประกาศถึงคุณธรรมข้อนั้นๆแล้ว ในทั้ง ๑๐ ประการ, การยอมให้เกิดขึ้นซึ่งกระบวนการทางกฎหมาย ภาพรวมจึงไม่ใช่เรื่องอบายมุข แต่ภาพรวมโดยแท้แล้ว ต้องเทียบกับ วินัยมุข เป็นวินัยมุข ซึ่งหมายความว่า “บัญญัติคือวินัย” เป็นทางผ่านพิภพของยุคสมัยในการครองสมบัติในนามของบุคคล, ถ้าจะพิเคราะห์ให้ได้ ในธรรมวินัยของโลก คือสังคมอันนั้น คนในที่นั้นต้องเห็นให้ได้ว่า ปฏิปทาบุคคลเฉพาะที่ถึงความเป็นปฏิภาคของเหตุการณ์ (ถูกโจทก์) จะเป็นทางแห่งการบรรลุ (สัจ) ใน ขันติ ๑ ทาน ๑ เนกขัมม ๑ ปัญญา ๑ เมตตา ๑ วิริย ๑ ศีล ๑ สัจจ ๑ อธิษฐาน ๑ เมตตา ๑ อุเบกขา ๑ กุศลอย่างไรอย่าง ๑ เป็นอย่างน้อยแล้ว ก็ด้วยบทบัญญัติ ที่เป็นข้อริเริ่ม ด้วยตั้งไว้ในทางกฎหมาย,
และเห็นให้ได้ว่า การสิ้นสุดกระบวนการตามบัญญัติธรรม ที่โจทก์ซึ่งการบรรลุ (ข้อตกลง) จะเป็นเหตุด้วยการให้เกิดปฏิรูปประเทศแล้ว ในครั้งหนึ่งๆ, กฎหมายจึงชื่อว่าเป็นปฏิรูปประเทศ และเป็นธรรมของปฏิรูปประเทศ ตัวความเข้าใจที่ทุกคนมีต่อกฎหมายในกระบวนหนึ่ง ทั้งที่ดี และไม่ดี เรียกชื่อว่า “ภาคยานุวัติ”, ให้มีศัพท์โดยฐานวินิจฉัย ตั้งด้วยคำบาลีอยู่หลายอย่าง ที่อาจจะค้นหามา จากศัพท์ที่ควรตามเห็นว่า เป็นไปในฐาน สมฺปตฺติฐาน เป็นสัมปัตติธรรม ที่เป็นตัวอย่างคือ ราชชัปปัตติ อันจะหมายความว่า อติเรกวัตถุ หรืออติเรกลาภอันใดอันหนึ่ง เกิดขึ้น เกิดความคุ้มครองอยู่แล้วด้วยราชวินัย ซึ่งนับว่าเป็น “กฎหมาย”, แล้วในภาษาอังกฤษเหมือนกัน ถึงโจทย์ที่ถามมานี้นั้น เห็นจะใช้คำว่า Accession เป็นฐานของศัพท์ อันที่จะให้สำแดงบทพากย์ตามเหตุทางวินัยชนิดนั้น ว่า ให้เป็นไปในทางกฎหมาย”
ความหมายของกฎหมาย และการเอาผิด
จะเห็นได้ว่า การบรรลุวัตถุประสงค์ในทางกฎหมาย เป็นการบรรลุคุณธรรมใน ๑๐ ประการนั้นของบุคคล ที่สุดแล้วให้เป็นการก้าวไปสู่บรมสัจจะ ที่จะปรากฏได้ในมนุษย์, การเกิดขึ้นของกฎหมายหรือกระบวนการทางกฎหมาย จึงเป็นเรื่อง ของการมีสิ่งค้ำประกันที่ล้ำเลิศ คือมุขจากฐานของเหตุการณ์นั้น ในโลก ในสังคม ที่ถือว่าจะต้องมีอบายและสิ่งเลวร้ายอยู่ด้วยเสมอ แต่! วินัยมุขที่เป็นบัญญัติบัตรหมาย ของเหตุการณ์นั้น เป็นสิ่งที่จะพาบุคคลไปสู่คลองธรรม และการขจัดสิ่งเลวร้าย ที่ให้มีชื่อเรียกว่า อธรรม และอยุติธรรม ให้หมดไป, ฉะนั้น จึงเชื่อถือกันว่า การยอมให้เกิดขึ้นซึ่งกระบวนการณ์ทางกฎหมาย จึงเชื่อ และนับถือกันว่าเป็นสิ่งดี เพราะจะต้องถือว่าคุณค่าแห่งยุคสมัยที่จะบรรลุคุณธรรมชนิดนั้นๆ ได้เกิดขึ้นแล้ว
แต่การที่คนไม่ได้มองถึงจุดสิ้นสุดของกระบวนการ ที่ตกลงด้วยกันของกลุ่มอารยธรรม มักจะทำให้ไม่อาจเล็งเห็นถึงสันตินิทานที่ปรากฏอยู่ด้วยดีในกฎหมาย และพบว่าการการันตีเพียงชั่ววูบนั่นเอง ก็มักจะเป็นสาเหตุให้นำพาสิ่งต่างๆไปสู่เป้าหมายที่ผิดประเด็น โดยมิพักจะให้สอบถามถึงข้อเท็จจริงได้เลย ว่าการสมมุติให้บรรลุข้อตกลงในทางกฎหมายนั้น ตามเหตุการณ์นั้น จะนำไปสู่บทแห่งราชวินัย ในทั้ง ๑๐ ประการนั้นด้วยข้อใดบ้าง แก่การณ์ที่คนจะได้บำเพ็ญตน ให้มีปฏิรูปประเทศตามประกาศ ปัจจุบัน, กฎหมายจึงมักจะให้ความศิวิไลซ์ไม่ได้ในทางปฏิบัติ ด้วยภาพ, พอแต่ว่าศิวาลัยแห่งราโชบาย ที่ใดไม่มาปรากฏด้วยอย่างพอเพียงที่นั่นแล้ว ยุติธรรมก็ย่อมจะไม่ปรากฏ, กฎหมายที่ประกาศตนตามธรรมนูญอันใดอันหนึ่ง ในโลก จึงเป็นเหมือนบทภาคย์สะท้อน ให้เห็น เป็นภาพของความอยุติธรรม ซึ่งผิดความหมายไปจากแท้จริง, อาจเพราะว่า มุข คือวินัยนั้น ถูกสอบถาม เทียบเคียง ด้วยมีปฏิรูปตามประกาศมา ยังไม่เพียงพอ ผู้กระทำผิดตามบทบัญญัติ จึงยังมิอาจประกาศตนสู่การยอมรับที่จะบรรลุคุณธรรมใน ๑๐ ประการอย่างนั้น อย่างไรอย่างหนึ่งให้เกิดขึ้น
ทั่วๆไป ทุกๆคนจึงยังเห็นว่า กฎหมายอาจถูกตั้งขึ้นอย่างอยุติธรรม ทั้งที่ปฏิรูป (มุข) ของเหตุการณ์ทางกฎหมายนั้น มีทางให้สถิตมั่น และอาจให้ได้มีทางรับประกาศถึงคุณธรรมข้อนั้นๆแล้ว ในทั้ง ๑๐ ประการ, การยอมให้เกิดขึ้นซึ่งกระบวนการทางกฎหมาย ภาพรวมจึงไม่ใช่เรื่องอบายมุข แต่ภาพรวมโดยแท้แล้ว ต้องเทียบกับ วินัยมุข เป็นวินัยมุข ซึ่งหมายความว่า “บัญญัติคือวินัย” เป็นทางผ่านพิภพของยุคสมัยในการครองสมบัติในนามของบุคคล, ถ้าจะพิเคราะห์ให้ได้ ในธรรมวินัยของโลก คือสังคมอันนั้น คนในที่นั้นต้องเห็นให้ได้ว่า ปฏิปทาบุคคลเฉพาะที่ถึงความเป็นปฏิภาคของเหตุการณ์ (ถูกโจทก์) จะเป็นทางแห่งการบรรลุ (สัจ) ใน ขันติ ๑ ทาน ๑ เนกขัมม ๑ ปัญญา ๑ เมตตา ๑ วิริย ๑ ศีล ๑ สัจจ ๑ อธิษฐาน ๑ เมตตา ๑ อุเบกขา ๑ กุศลอย่างไรอย่าง ๑ เป็นอย่างน้อยแล้ว ก็ด้วยบทบัญญัติ ที่เป็นข้อริเริ่ม ด้วยตั้งไว้ในทางกฎหมาย,
และเห็นให้ได้ว่า การสิ้นสุดกระบวนการตามบัญญัติธรรม ที่โจทก์ซึ่งการบรรลุ (ข้อตกลง) จะเป็นเหตุด้วยการให้เกิดปฏิรูปประเทศแล้ว ในครั้งหนึ่งๆ, กฎหมายจึงชื่อว่าเป็นปฏิรูปประเทศ และเป็นธรรมของปฏิรูปประเทศ ตัวความเข้าใจที่ทุกคนมีต่อกฎหมายในกระบวนหนึ่ง ทั้งที่ดี และไม่ดี เรียกชื่อว่า “ภาคยานุวัติ”, ให้มีศัพท์โดยฐานวินิจฉัย ตั้งด้วยคำบาลีอยู่หลายอย่าง ที่อาจจะค้นหามา จากศัพท์ที่ควรตามเห็นว่า เป็นไปในฐาน สมฺปตฺติฐาน เป็นสัมปัตติธรรม ที่เป็นตัวอย่างคือ ราชชัปปัตติ อันจะหมายความว่า อติเรกวัตถุ หรืออติเรกลาภอันใดอันหนึ่ง เกิดขึ้น เกิดความคุ้มครองอยู่แล้วด้วยราชวินัย ซึ่งนับว่าเป็น “กฎหมาย”, แล้วในภาษาอังกฤษเหมือนกัน ถึงโจทย์ที่ถามมานี้นั้น เห็นจะใช้คำว่า Accession เป็นฐานของศัพท์ อันที่จะให้สำแดงบทพากย์ตามเหตุทางวินัยชนิดนั้น ว่า ให้เป็นไปในทางกฎหมาย”