หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
.....ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความเลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ไม่ควรเลื่อมใส
กระทู้สนทนา
พระไตรปิฎก
ปฏิบัติธรรม
วัด
ทำบุญ
[๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นคนพาล ไม่เฉียบแหลม ไม่ใช่สัตบุรุษ ย่อมคุ้มครองตนที่ ปราศจากคุณสมบัติ
ย่อมเป็นผู้ประกอบไปด้วยโทษ นักปราชญ์ติเตียน และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็นอันมาก
ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน
คือ
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว กล่าวสรรเสริญคุณของผู้ไม่ควรสรรเสริญ ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว กล่าวติเตียนผู้ที่ควรสรรเสริญ ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความเลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ไม่ควรเลื่อมใส ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความไม่เลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ควรเลื่อมใส ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล เป็นคนพาล ไม่เฉียบแหลม ไม่ใช่สัตบุรุษ
ย่อมคุ้มครองตนที่ปราศจากคุณสมบัติ ย่อมเป็นผู้ประกอบไปด้วยโทษ นักปราชญ์ติเตียน
และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็นอันมาก
ขตสูตรที่ ๑
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=21&A=42&Z=73
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ชี้ให้ชัด กรณีติเตียนพระจะเป็นบาปไหม จาก พระไตรปิฎก และ พระไพศาล วิสาโล
---- ปุจฉา ---- การติเตียน พระภิกษุ เป็นการบาปหรือไม่คะ กรณีที่พระทำอะไรที่ผิดพระวินัย หรือ ทำอะไรออกนอกลู่นอกทาง ไม่เหมาะ เช่น เลือกแผ่นเกมหรือ window shopping มือถือรุ่นใหม่ๆในห้าง เรามีสิทธิตักเตื
ศิรัสพล
พระคึกฤทธิ์ เจ้าสำนักพุทธวจน ตำหนิติเตียน หลวงพ่อสด
http://www.youtube.com/watch?v=1ctZUG6yKT8 ใคร่ครวญพิจารณารอบคอบดีแล้วเหรอ จึงได้ติเตียนท่านซะขนาดนั้น "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเจ้าอาวาสประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เหมือนถูกนำมาเก็บไว้ในนรก ๕ ประ
zen_ar218
๛ อสัตบุรุษย่อมไม่รู้ว่าผู้นี้เป็นอสัตบุรุษหรือเป็นสัตบุรุษ สัตบุรุษย่อมรู้ว่าผู้นี้เป็นอสัตบุรุษหรือเป็นสัตบุรุษ ๛
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ๑๐. จูฬปุณณมสูตร (๑๑๐) ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกา วิสาขามิคารมารดา
สมาชิกหมายเลข 1111318
[พระไตรปิฏก]ว่าด้วยสิ่งที่ไกลกันแสนไกล ๔ ประการ
ว่าด้วยสิ่งที่ไกลกันแสนไกล ๔ ประการ (พระไตรปิฎก ฉบับหลวง (ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่ไกลกันแสนไกล ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย (๑) ฟ้ากับแผ่นดิน นี้เป็นสิ่งที่ไก
ดอกหญ้าในป่าหนาว
ว่าด้วยคฤหัสถ์ผู้นุ่งห่มผ้าขาว
ดูกรสารีบุตร ท่านทั้งหลายพึงรู้จักคฤหัสถ์คนใดคนหนึ่ง ผู้นุ่งห่มผ้าขาว มีการ งานสำรวมดีในสิกขาบท ๕ ประการ และมีปรกติได้ตามความปรารถนา ได้โดย ไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน อันมีใน
ซึ่งเป็นเช่นนั้นเอง
ความสำคัญของอรรถกถาญานในพระไตรปิฎกที่สังคายนามาโดยเหล่าปฎิสัมภิทา
#ความสำคัญของอรรถกถาของอรหันต์พระปฎิสัมภิทาปฐมสังคายนา ทุติยะ,ตะติยะฯ #ย่อให้สั้นโดยพิสดาร #ญานในพระนิพพานคืออรรถปฎิสัมภิทา #{พระสัทธรรม}พระธรรมราชาทรงตรัสรู้ทรงเปิดประตูพระนิพพาน #กล่าวพระปริย
สมาชิกหมายเลข 7840764
งมงาย ใน อนัตตา เป็น โสดาบัน
เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว คือ เชื่อ 100% ผู้ก้าว,ย่างลงสู่สัมมัตตนิยาม คือ โสดาปัตติมรรค ฯลฯ "ไม่เที่ยง มีอันแปรปรวน เป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่าน
สมาชิกหมายเลข 4128431
นิพพานเบียว (นิพพานในปัจจุบัน)
สำคัญไปว่าเป็นนิพพาน ทั้งที่มีอัตตาอยู่ เบียว1.นิพพานมีพร้อมกามคุณ๕ สำคัญว่าความมีพร้อมกามคุณ๕เป็นนิพพาน เบียว2.นิพพานที่อัตตาสุขฌาน๑จากการสลัดกาม สำคัญว่าฌาน๑เป็นนิพพาน เบียว3.นิพพานที่อัตตาสุขฌาน๒จ
สมาชิกหมายเลข 4128431
ลัทธิ สัตตานัง คือ ลัทธิ สัสสตวาที
สัสสตทิฐิ เป็น มิจฉาทิฐิ สัสสตทิฏฐิ เป็น มิจฉาทิฏฐิ คือมีความเห็นผิด ว่า อัตตา และโลกเที่ยง ทั้งในภพเบื้องนี้ และภพเบื้องหน้า ความเห็นผิดเช่นนี้ ไม่อาจ
สมาชิกหมายเลข 4128431
ปัจจุบัน ยังมีวัดไหนหรือสำนักสอนธรรมที่ไหนที่ยังคงรูปแบบการสอนในพระพุทธศาสนาเมื่อครั้งพุทธกาลไว้อย่างสมบูรณ์
รูปแบบการสอนพระธรรมในพระพุทธศาสนาเมื่อครั้งพุทธกาล ตามที่ปรากฏหลักฐานในพระไตรปิฎก มีอยู่ 4 รูปแบบใหญ่ๆ ดังนี้ ๑. แบบสากัจฉา หรือสนทนา วิธีนี้น่าจะเป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้บ่อยไม่น้อยกว่าวิธีใดๆ โด
สมาชิกหมายเลข 7572607
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
พระไตรปิฎก
ปฏิบัติธรรม
วัด
ทำบุญ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
.....ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความเลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ไม่ควรเลื่อมใส
[๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นคนพาล ไม่เฉียบแหลม ไม่ใช่สัตบุรุษ ย่อมคุ้มครองตนที่ ปราศจากคุณสมบัติ
ย่อมเป็นผู้ประกอบไปด้วยโทษ นักปราชญ์ติเตียน และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็นอันมาก
ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว กล่าวสรรเสริญคุณของผู้ไม่ควรสรรเสริญ ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว กล่าวติเตียนผู้ที่ควรสรรเสริญ ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความเลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ไม่ควรเลื่อมใส ๑
ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้ว ยังความไม่เลื่อมใสให้เกิดในฐานะที่ควรเลื่อมใส ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล เป็นคนพาล ไม่เฉียบแหลม ไม่ใช่สัตบุรุษ
ย่อมคุ้มครองตนที่ปราศจากคุณสมบัติ ย่อมเป็นผู้ประกอบไปด้วยโทษ นักปราชญ์ติเตียน
และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็นอันมาก
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=21&A=42&Z=73