คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
นี่จะมาช่วย หรือมาฆ่าเขาครับเนี่ย...อิอิ
ปกติ โควต้าการตั้งกระทู้ของสมาชิกแต่ละท่าน ก็ท่านละ 4 กระทู้
การเอาเปรียบเพื่อนสมาชิกโดยการเอาล็อคอินหลายล็อคอินมาตั้งกระทู้
มันเป็นเรื่องสำนึกของแต่ละคน
ผมก็แค่เก็บและแสดงหลักฐานการกระทำนั้น เท่านั้นเอง อิอิ
ปกติ โควต้าการตั้งกระทู้ของสมาชิกแต่ละท่าน ก็ท่านละ 4 กระทู้
การเอาเปรียบเพื่อนสมาชิกโดยการเอาล็อคอินหลายล็อคอินมาตั้งกระทู้
มันเป็นเรื่องสำนึกของแต่ละคน
ผมก็แค่เก็บและแสดงหลักฐานการกระทำนั้น เท่านั้นเอง อิอิ
สมาชิกหมายเลข 3922290 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2925949 ถูกใจ, อาโก หนองจอก ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3987133 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 4157047 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2377897 ถูกใจ, aveerawat ทึ่ง
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ข้อเสนอแนะถึงพันทิป
รัฐศาสตร์
คุณคิดว่า การแสดงความคิดเห็นเนื้อหาในภาพที่ซ้ำๆกันถึง144กระทู้ เป็นการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์(cyber bullies)ใช่หรือไม่และ..
...คุณอยากให้ทางพันทิปดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด กับสมาชิกที่กระทำการแสดงความคิดเห็นที่มีเนื้อหาซ้ำๆกัน อย่างในภาพ อย่างไร
ปล. ข้อสังเกต การกระทำซ้ำๆ แบบการแสดงความคิดเห็นในภาพ มักจะเกิดกับกระทู้ที่สมาชิกคนหนึ่ง เป็นผู้ตั้งเสมอ
--------------------------------------------------
*มาเพิ่มข้อมูล
การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ (อังกฤษ: Cyberbullying) เป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือคุกคามผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีการซ้ำแล้วซ้ำเล่าโดยไตร่ตรองไว้แล้ว จาก U.S. Legal Definitions ให้คำนิยามว่า "การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ อาจหมายถึงการประกาศข่าวลือหรือคำนินทาเกี่ยวกับบุคคลหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งก่อให้เกิดการรังเกียจแก่จิตใจต่อผู้อื่น หรืออาจหมายถึง คุกคามเหยื่อโดยเผยแพร่เนื้อหาที่ทำลายชื่อเสียงหรือทำให้เกิดความขายหน้า"[1]
-การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ เป็นพฤติกรรมซ้ำ ๆ ที่มีเจตนาทำให้เกิดความเสียหาย
-การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ เป็นการก่อการโดยการรังควาน การเกาะติดชีวิตออนไลน์ผู้อื่น การหมิ่นประมาท (โดยการส่งหรือการประกาศคำนินทาและทำเรื่องลวงให้เกิดความเสียหายซ้ำแล้วซ้ำเล่า) การปลอมตัวเป็นผู้อื่น และการกีดกัน (โดยตั้งใจและหยาบคาย เพื่อแยกให้เหยื่อออกจากกลุ่ม)[4]
ขอบคุณข้อมูลที่มาจาก https://th.wikipedia.org/wiki/การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์