ธรรมะเกิดแล้วไปละไปทิ้งโง่

ธรรมะเกิดขึ้นใจมีสติไปรู้แล้วไปทิ้งโง่ทันที
คิดฟุ้งซ่าน ก็ให้มีสติรู้ว่าฟุ้งซ่านแล้วมีอารมณ์เป็นอย่างไรดูให้ชัด
พอคิดฟุ้งซ่านไปละไปทิ้งไม่อยากฟุ้งซ่าน ใจมันโง่ดูความฟุ้งซ่านไม่เป็น
ไม่รู้จักอารมณ์ที่เกิดความฟุ้งซ่าน
ใจซึมเศร้า เศร้าหมอง ก็ไปละไม่อยากซึมเศร้า ไม่อยากเศร้าหมอง
ก็ดูไม่เป็นไม่เห็นอารมณ์ที่ซึมเศร้า เศร้าหมอง ก็เลยโง่ ต่อไปมันก็ขึ้นทุกวันไม่จบไม่สิ้น
พระพุทธเจ้าสอนให้รู้ธรรมเรียกคนมาดูธรรมะ มาศึกษาธรรมะ
ไม่ได้สอนให้ทิ้งธรรมะ
จิตมีราคะก็ให้รู้ว่าจิตมีราคะ จิตไม่มีราคะก็รู้ว่าจิตไม่มีราคะ
จิตเศร้าหมองก็รู้ว่าจิตเศร้าหมอง จิตไม่เศร้าหมองก็รู้ว่าจิตไม่เศร้าหมอง
แก้ไขข้อความเมื่อ
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
คนโง่ไม่รู้จักสติฝ่ายอกุศล ก็หลงว่าตนฉลาด จะเอาแต่กุศล
แล้วไปจินตนาการว่าเดี๋ยวสติก็ละอกุศลเอง ก็เลยโง่ไม่รู้เรื่อง
เป็นทาษของกามที่อยากได้แต่กุศล ต้องดูอารมณ์ที่ฉลาดในเรื่องโง่ๆ
ว่าใจมันเป็นอย่างไร ธรรมะไม่มีผิด ไม่มีถูก คนมันโง่เอง ที่ไม่รู้จักผิดจักถูก
มิจฉัตตะ ความเป็นผิด, ภาวะที่ผิดมี ๑๐ อย่าง คือ
       ๑. มิจฉาทิฏฐิ
       ๒. มิจฉาสังกัปปะ
       ๓. มิจฉาวาจา
       ๔. มิจฉากัมมันตะ
       ๕. มิจฉาอาชีวะ
       ๖. มิจฉาวายามะ
       ๗. มิจฉาสติ
       ๘. มิจฉาสมาธิ
       ๙. มิจฉาญาณ
       ๑๐. มิจฉาวิมุตติ;
       ตรงข้ามกับ สัมมัตตะ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่