ต้องบอกไว้เลยละครทำไว้ดีมากโดยเฉพาะเรื่องชุดนี้ละเอียดมาก ทีนี้มาบอกกันหน่อยเป็นความรู้นะครับ ในภาษาเหนือหรือภาษาล้านนา ไม่ได้มีแค่ 5 วรรณยุกต์เช่นภาษาไทย แต่มี 6 วรรณยุกต์(ยึดตามสำเนียงราชธานีคือเชียงใหม่ นี้ยังไม่แตกย่อยไปตามจังหวัดอื่น) คนเหนือบางคนไม่รู้ตัวด้วยซ้ำเพราะไม่ได้เรียนอักขระล้านนามา ดังนั้นคำศัพท์ด้านล่างนี้ บางคำไม่สามารถปริวรรตเสียงได้ จึงใช้เสียงใกล้เคียงที่สุดแทนเอานะครับ (1 กับ นึ่งข้าว คนเมืองคนใดเข้ามาผ่อลองออกเสียงผ่อคับ ละจะฮุ้ว่ามันมี 6 วรรณยุกต์55 กำว่า ผี้ลี้ เข้า(ข้าว) ฯลฯ เหม)
แค่ =ม๊อก
กว่า= เหลือ
ตัวเอง =ตั๋วเก่า
คิด= กึ๊ด
ผู้ใหญ่= คนใหญ่
เตรียม= ดา
เตรียมข้าวของ =ดาครัว
เขา= เปิ้น
ฉัน= เปิ้น(สุภาพ)
ทางโน่น= ตางโป้น หรือ ตางปุ๊น
นักแก= ไม่เท่าไหร่, สุดๆเหมือนกัน(กรณีนี้เช่นเวลาดุเด็ก เช่น หลึ่งนักแกเน้อบ่ะ=ดื้อพอตัวดื้อสุดๆเช่นกัน)
เบื่อ= ก้าย
อยาก= ไค้
คง น่าจะ= ท่า
บ้าง= พ่อง (คำไทยอาจจะมีความหมายทางลบ แต่ภาษาเหนือไมใช่)
ขอบใจ= ยินดีจ๊าดนัก
นักล้ำไป =เยอะเกินไป
ตรง(นั้น) =ตั๊ด(หั้น)
ทางนี้= ตังนี้
รอ= ท่า
ข้าวเช้า= เข้างาย
ได้แต่....= ดั้ยก้า...
ขโมย= ลัก
เห็น= หัน
วิ่ง =โล่น
หิว =ไค้อยากกิ๋นเข้า
เพลีย= หิว (จริงๆครับ หิวหมายถึงเพลีย เช่น วันนี้อ้ายหยะก๋านหิวๆง่าว)
ง่าว =โง่
ง่าว= มาก (โดยปกติง่าวแปลว่าโง่ แต่ถ้าใช้ร่วมกับคำคุณศัพท์ มันจะแปลว่ามากทันที เช่น หล๊วกบ้อยหล๊วกง่าว=โครตฉลาด ง่าว(บ้อย)ง่าวง่าว=โครตโง่)
ครั้ง=เตื้อ
เหนื่อย= อิ๊ด
เต้าบ่ะเดี่ยว=จนตอนนี้(เปิ้นบ่มาเต้าฮอดบ่ะเดี่ยว=ตอนนี้เขาก็ยังไม่มา)
สวมรองเท้า=สุ๊บเกิบ (สุ๊บ ใช้ได้แค่รองเท้าใช้กับเสื้อผ้าไม่ได้)
ถอดเสื้อ=ถ่ายเสื้อ
พอสมควร, อวดเก่งอวดดี=อาละ
ทั่ว=ไคว่
ค่อยยังชั่ว=ยังแควน
จับ=หยั้บ
ดู มอง = ผ่อ
นิ่ง=หนิม
กอง= รอ(v.) ซอย(ตรอกซอย)(n.)
รอ=ท่า
กอย = ลอง (คนเหนือบางคนตอนนี้เอามาปนกับภาษาไทยที่ตรงกับคำว่า คอย ความหมายก็เลยเปลี่ยน แต่ความจริงมันไม่ใช่)
ถนน=ก๋างกอง
ทำไม=หยะหยัง
ยังไง=จะได
อย่างไร=หยั่งใด
ป่วยไข้= เหมื้อย
หลากหลาย =ซับป๊ะซับเป้ด
ความคิด= กำกึ้ด
ทุกวัน= กุ๊วัน
ทุกๆวัน= ตึงวัน
อย่า= จะไป,ไป เช่นอย่าไป=จะไปไป ไปปาก=หุบปาก หรือรวบคำ ไปไป=อย่าไป (หลายคนงงแน่55)
เหมาะสม=เปิง
สลำ...ไปแล้ว=หลง..ไปแล้ว
ดื้อ ซน = ฮ้าย
อิจฉา=ขอย
ถูกใจ = เปิงใจ๋
หมอก=เหมย
คำศัพท์ในละครเรื่อง รากนครา 1
แค่ =ม๊อก
กว่า= เหลือ
ตัวเอง =ตั๋วเก่า
คิด= กึ๊ด
ผู้ใหญ่= คนใหญ่
เตรียม= ดา
เตรียมข้าวของ =ดาครัว
เขา= เปิ้น
ฉัน= เปิ้น(สุภาพ)
ทางโน่น= ตางโป้น หรือ ตางปุ๊น
นักแก= ไม่เท่าไหร่, สุดๆเหมือนกัน(กรณีนี้เช่นเวลาดุเด็ก เช่น หลึ่งนักแกเน้อบ่ะ=ดื้อพอตัวดื้อสุดๆเช่นกัน)
เบื่อ= ก้าย
อยาก= ไค้
คง น่าจะ= ท่า
บ้าง= พ่อง (คำไทยอาจจะมีความหมายทางลบ แต่ภาษาเหนือไมใช่)
ขอบใจ= ยินดีจ๊าดนัก
นักล้ำไป =เยอะเกินไป
ตรง(นั้น) =ตั๊ด(หั้น)
ทางนี้= ตังนี้
รอ= ท่า
ข้าวเช้า= เข้างาย
ได้แต่....= ดั้ยก้า...
ขโมย= ลัก
เห็น= หัน
วิ่ง =โล่น
หิว =ไค้อยากกิ๋นเข้า
เพลีย= หิว (จริงๆครับ หิวหมายถึงเพลีย เช่น วันนี้อ้ายหยะก๋านหิวๆง่าว)
ง่าว =โง่
ง่าว= มาก (โดยปกติง่าวแปลว่าโง่ แต่ถ้าใช้ร่วมกับคำคุณศัพท์ มันจะแปลว่ามากทันที เช่น หล๊วกบ้อยหล๊วกง่าว=โครตฉลาด ง่าว(บ้อย)ง่าวง่าว=โครตโง่)
ครั้ง=เตื้อ
เหนื่อย= อิ๊ด
เต้าบ่ะเดี่ยว=จนตอนนี้(เปิ้นบ่มาเต้าฮอดบ่ะเดี่ยว=ตอนนี้เขาก็ยังไม่มา)
สวมรองเท้า=สุ๊บเกิบ (สุ๊บ ใช้ได้แค่รองเท้าใช้กับเสื้อผ้าไม่ได้)
ถอดเสื้อ=ถ่ายเสื้อ
พอสมควร, อวดเก่งอวดดี=อาละ
ทั่ว=ไคว่
ค่อยยังชั่ว=ยังแควน
จับ=หยั้บ
ดู มอง = ผ่อ
นิ่ง=หนิม
กอง= รอ(v.) ซอย(ตรอกซอย)(n.)
รอ=ท่า
กอย = ลอง (คนเหนือบางคนตอนนี้เอามาปนกับภาษาไทยที่ตรงกับคำว่า คอย ความหมายก็เลยเปลี่ยน แต่ความจริงมันไม่ใช่)
ถนน=ก๋างกอง
ทำไม=หยะหยัง
ยังไง=จะได
อย่างไร=หยั่งใด
ป่วยไข้= เหมื้อย
หลากหลาย =ซับป๊ะซับเป้ด
ความคิด= กำกึ้ด
ทุกวัน= กุ๊วัน
ทุกๆวัน= ตึงวัน
อย่า= จะไป,ไป เช่นอย่าไป=จะไปไป ไปปาก=หุบปาก หรือรวบคำ ไปไป=อย่าไป (หลายคนงงแน่55)
เหมาะสม=เปิง
สลำ...ไปแล้ว=หลง..ไปแล้ว
ดื้อ ซน = ฮ้าย
อิจฉา=ขอย
ถูกใจ = เปิงใจ๋
หมอก=เหมย