นักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ว่าเราสามารถไปอยู่ที่ดาวอังคารได้เห็นได้จาก Project Mars One ที่จะใช้งบราว 6000 ล้านดอลล่าห์ต่อการเดินทางหนึ่งเที่ยว(มีแต่ขาไปไม่มีขากลับ) โดยหวังว่าจะทำให้ดาวอังคารเป็นโลกแห่งที่ 2 ของมนุษญ์ซึ่งเป็นการตั้งอาณานิคมใหม่บนนั้น แล้วต้องพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ของดาวอังคารให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตบนนั้น โดยคาดว่ากว่าจะถึงช่วงที่ดาวอังคารมีชั้นบรรยากาศอาจใช้เวลาราวๆ 200 – 300 ปี เพื่อสร้างชั้นบรรยากาศและสร้างพืชพรรณเพื่อหล่อเลี้ยงให้ดำรงชีวิตได้ในอนาคต
โดยจะมีการคัดเลือกมนุษย์กว่า 100 คนเดินทางขึ้นสู่ดาวอังคารและใช้ชีวิตบนนั้นและสร้างอาณานิคม การคิดค้น รวมถึงปฏิบัติการเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอยู่ได้โดยหลังจากที่มนุษย์กลุ่มแรกเดินทางไปอยู่ ทางนาซ่าจะส่งมนุษย์กลุ่มที่ 2 ขึ้นไปอีก 2 ปีถัดมา ดูเป็นโปรเจคที่ยิ่งใหญ่อยากจะเห็นว่าสุดท้ายแล้วมนุษญ์จะสามารถไปอยู่ดาวอังคารได้จริงๆหรอ แต่เราคงสิ้นอายุขัยไปก่อนได้เห็น(น่าเสียดาย) หากใครที่สนใจ Road Map ของโครงการ Mars One สามารถเข้าไปได้ที่ลิ้งนี้ได้เลยครับ
http://www.mars-one.com/mission/roadmap
แต่เรากำลังลืมดาวเคราะห์ดวงหนึ่งซึ่งได้ชื่อว่าเป็นฝาแฝด ขนาดใกล้เคียงกับโลก แรงดึงดูดน้อยกว่าโลกนิดหน่อย นั่นคือดาวศุกร์ เคยมีการสันนิฐานไว้ว่าบนดาวศุกย์อาจจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีการส่งยานสำรวจไปหลายสิบลำ แต่เรามาดูกันว่าทำไมดาวศุกร์ถึงน่าอยู่กว่าดาวอังคาร
1.ระยะเวลาในการเดินทางที่น้อยลง
ด้วยระยะห่างจากโลกที่ใกล้กว่าดาวอังคารมากกว่า 30 - 50 เปอร์เซนเทียบกับระยะทางที่ใกล้กับโลกมากที่สุด นั่นหมายความว่าเราจะใช้เวลาในการเดินทางที่น้อยลงเราก็จะรับรังสีที่เป็นอันตรายต่อร่างกายจากดวงอาทิตย์น้อยลงเช่นกัน รังสีจากดวงอาทิตย์จะทำให้โมเลกุลของ DNA ของเราฉีกขาดหรือเกิดความเสียหายทำให้เกิดมะเร็งหรือโรคต่างๆ และระยะการเดินทางที่ไกลกว่านั้นเราจะต้องอยู่ในสภาพที่ไร้น้ำหนักที่นานกว่า จะทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของเราฝ่อลง(อันนี้เทียบกันในระยะยาวว่าใครก็สามารถไปได้ในอนาคต)เพราะว่าร่างกายของเราไม่ได้พัฒนามาให้สามารถอยู่ในสภาพที่ไร้น้ำหนักอย่างเช่นนอกโลกได้ และกระดูกก็เช่นกันเมื่อร่างกายไม่จำเป็นต้องรับน้ำหนักก็จะทำให้มวลกระดูกน้อยลงทำให้เปราะหักง่าย
2.ชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นมากกว่า
บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ อาร์กอน 0.5% มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทำให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึงเห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก
!! มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก !! เป็นอีกหนึ่งข้อดีที่ชั้นชั้นบรรยากาศที่หนาทึบจะช่วยปกป้องรังสีจากดวงอาทิตย์ได้เป็นอย่างดี
3.แรงดึงดูดที่มากกว่าดาวอังคาร
แรงดึงดูดของดาวศุกร์มีค่าประมาณ 0.9 เท่าของแรงดึงดูดของโลก แต่ ดาวอังคารมีค่าเพียง 0.4 เท่าของโลก แรงดึงดูดที่น้อยกว่ามากนั้นในระยะยาวจะเกิดผลเสียในอนาคตมวลของกระดูกจะน้อยลงเนื่องจากร่างกายไม่ต้องรับน้ำหนักมากเป็นผลทำให้กระดูกหักง่ายขึ้น เเละ กล้ามเนื้อต่างๆก็ฟ่อลงด้วยหากต้องอยู่ในสภาวะที่ไร้น้ำหนักหรือน้ำหนักน้อยกว่าโลกมากๆเป็นเวลานาน
ที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นว่ามีแต่ข้อดีกว่าดาวอังคารทั้งนั้นในระยะยาว แต่มีสิ่งหนึ่งที่ปิดกั้นความฝันของมวลมนุษญ์ ทำให้เราไม่สามารถกลับไปเยี่ยมดาวพี่น้องของเราได้อีกครั้ง(พูดเหมือนเคยไปมาแล้ว)นั่นคือสภาพอากาศที่เลวร้ายซะยิ่งกว่านรกซะอีก มันคือนรกบนดินที่แท้จริงด้วยสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศที่ไม่เหมาะสมอย่างมากในการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตบนโลก จากปรากฏการดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกบนพื้นผิวรุนแรงมาก เพราะดาวศุกร์มีก๊าซที่ช่วยดูดกลืนความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มาก และ มีปริมาณสูง ก๊าซดังกล่าวคือ คาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนี้ยังมีไอของกรดกำมะถัน ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับไอน้ำ บรรยากาศของดาวศุกร์มีอาร์กอน ไนโตรเจน คาร์บอนมอนอกไซด์ นีออน- ไฮโดรคลอไรด์ และไฮโดรฟลูออไรด์ ทำให้ความกดดันบรรยกาศสูงกว่าโลก 90 เท่า ปรากฏการณ์เรือนกระจกบนพื้นผิวดาวศุกร์ ทำให้ดาวศุกร์ร้อนทั้งกลางวันและกลางคืน ตอนกลางวันอุณหภูมิสูงถึง 477 องศาเซลเซียส
เคยมีการลงจอดหลายครั้งที่ดาวศุกย์ เช่น ยานสำรวจอวกาศเเบบไร้คนขับของประเทศรัฐเซีย Venera 7 Venera 8 Venera9 Venera10 Venera11 Venera12 Venera13 เคยลงจอดแต่ก็ไม่สามารถทนสภาพภูมิศาสตร์ที่พื้นผิวของดาวศุกย์ได้ซึ่งสามารถอยู่สำรวจได้นานสุดแค่ 110 นาทีหรือ 1 ชั่วโมง 50 นาที (ยาน Venera 12) เท่านั้นเองขนาดยานสำรวจอวกาศยังพังแล้วเนื้อคนมันจะเหลืออะไรด้วยความกดดันบรรยากาศที่พื้นผิวสูงถึง 90 atm ทำให้เหมือนกับเรากำลังดำน้ำอยู่บนโลกด้วยความลึก 1 กิโลเมตรเลยที่เดียวแต่ถ้าเทียบกับดาวอังคารแล้วข้อมูลของดาวศุกย์นั้นช่างน้อยเสียเหลือเกินบางที่ในอนาคตอาจจะค้นพบอะไรใหม่ๆและสามารถเปลี่ยนสภาพภูมิศาสตร์ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ก็ได้ในอนาคต
รูปภาพยาน Venera
แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่ได้ล้มเลิกการสำรวจไปซะที่เดียว เรายังสามารถอาศัยอยู่บนดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ด้วยเทคโนโลยีเมืองลอยฟ้า(Cloud Citiy) ในชื่อโปรเจคการสำรวจ High Altitude Venus Operational Project (HAVOC) อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าที่พื้นผิวของดาวศุกย์จะเลวร้ายเพียงใดเหนือพื้นผิวขึ้นไป 55 กิโลเมตร ที่ชั้นบรรยากาศนี้มีอุณหภูมิประมาณ 27 องษาเซลเซียส 0.5 บาร์ (เทียบกับบนโลกที่ความสูงประมาณ 5.5 กิโลเมตร) ที่นั่นเราสามารถอาศัยอยู่ได้โดยใช้เพียงหน้ากากแก็สสำหรับให้ออกซิเจนเท่านั้น และใช้ใส่ชุดอวกาศสำหรับปกป้องรังสีจากดวงอาทิตย์(ที่มีน้อยกว่าในอวากาศเนื่องจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกย์) ซึ่งใช้อุปกรณ์น้อยกว่าโปรเจคที่จะไปดาวอังคารอยู่มาก
หวังว่าในอนาคตจะมีถ่ายทอดสดชีวิตบนดาวอังคารให้ดูคิดว่ายังไงถ้าลูกหลานเราในอนาคตมีโปรแกรมทัว์ดวงจันทร์หรือทัวร์ดาวอังคารง่ายเหมือนกับไปทัวร์ญี่ปุ่นยังไงยังงั้น ? อยากไปบ้างจังเเต่ไปเเล้วกลับมานะ สุดท้ายขอฝากคลิปวิดีโอของผมไว้สักหน่อยเพื่อใครที่ขี้เกียจอ่าน นะครับ
อ้างอิงเเละเรียบเรียงจาก
https://sacd.larc.nasa.gov/branches/space-mission-analysis-branch-smab/smab-projects/havoc/
https://www.space.com/24701-how-long-does-it-take-to-get-to-mars.html
http://gizmodo.com/how-long-humans-can-live-in-space-and-what-happens-if-w-1632091719
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ดาวศุกร์ออกจะน่าอยู่ทำไมเราไม่ไปดาวศุกย์เเทนดาวอังคาร
โดยจะมีการคัดเลือกมนุษย์กว่า 100 คนเดินทางขึ้นสู่ดาวอังคารและใช้ชีวิตบนนั้นและสร้างอาณานิคม การคิดค้น รวมถึงปฏิบัติการเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอยู่ได้โดยหลังจากที่มนุษย์กลุ่มแรกเดินทางไปอยู่ ทางนาซ่าจะส่งมนุษย์กลุ่มที่ 2 ขึ้นไปอีก 2 ปีถัดมา ดูเป็นโปรเจคที่ยิ่งใหญ่อยากจะเห็นว่าสุดท้ายแล้วมนุษญ์จะสามารถไปอยู่ดาวอังคารได้จริงๆหรอ แต่เราคงสิ้นอายุขัยไปก่อนได้เห็น(น่าเสียดาย) หากใครที่สนใจ Road Map ของโครงการ Mars One สามารถเข้าไปได้ที่ลิ้งนี้ได้เลยครับ http://www.mars-one.com/mission/roadmap
แต่เรากำลังลืมดาวเคราะห์ดวงหนึ่งซึ่งได้ชื่อว่าเป็นฝาแฝด ขนาดใกล้เคียงกับโลก แรงดึงดูดน้อยกว่าโลกนิดหน่อย นั่นคือดาวศุกร์ เคยมีการสันนิฐานไว้ว่าบนดาวศุกย์อาจจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีการส่งยานสำรวจไปหลายสิบลำ แต่เรามาดูกันว่าทำไมดาวศุกร์ถึงน่าอยู่กว่าดาวอังคาร
1.ระยะเวลาในการเดินทางที่น้อยลง
ด้วยระยะห่างจากโลกที่ใกล้กว่าดาวอังคารมากกว่า 30 - 50 เปอร์เซนเทียบกับระยะทางที่ใกล้กับโลกมากที่สุด นั่นหมายความว่าเราจะใช้เวลาในการเดินทางที่น้อยลงเราก็จะรับรังสีที่เป็นอันตรายต่อร่างกายจากดวงอาทิตย์น้อยลงเช่นกัน รังสีจากดวงอาทิตย์จะทำให้โมเลกุลของ DNA ของเราฉีกขาดหรือเกิดความเสียหายทำให้เกิดมะเร็งหรือโรคต่างๆ และระยะการเดินทางที่ไกลกว่านั้นเราจะต้องอยู่ในสภาพที่ไร้น้ำหนักที่นานกว่า จะทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของเราฝ่อลง(อันนี้เทียบกันในระยะยาวว่าใครก็สามารถไปได้ในอนาคต)เพราะว่าร่างกายของเราไม่ได้พัฒนามาให้สามารถอยู่ในสภาพที่ไร้น้ำหนักอย่างเช่นนอกโลกได้ และกระดูกก็เช่นกันเมื่อร่างกายไม่จำเป็นต้องรับน้ำหนักก็จะทำให้มวลกระดูกน้อยลงทำให้เปราะหักง่าย
2.ชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นมากกว่า
บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ อาร์กอน 0.5% มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทำให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึงเห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก
!! มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก !! เป็นอีกหนึ่งข้อดีที่ชั้นชั้นบรรยากาศที่หนาทึบจะช่วยปกป้องรังสีจากดวงอาทิตย์ได้เป็นอย่างดี
3.แรงดึงดูดที่มากกว่าดาวอังคาร
แรงดึงดูดของดาวศุกร์มีค่าประมาณ 0.9 เท่าของแรงดึงดูดของโลก แต่ ดาวอังคารมีค่าเพียง 0.4 เท่าของโลก แรงดึงดูดที่น้อยกว่ามากนั้นในระยะยาวจะเกิดผลเสียในอนาคตมวลของกระดูกจะน้อยลงเนื่องจากร่างกายไม่ต้องรับน้ำหนักมากเป็นผลทำให้กระดูกหักง่ายขึ้น เเละ กล้ามเนื้อต่างๆก็ฟ่อลงด้วยหากต้องอยู่ในสภาวะที่ไร้น้ำหนักหรือน้ำหนักน้อยกว่าโลกมากๆเป็นเวลานาน
ที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นว่ามีแต่ข้อดีกว่าดาวอังคารทั้งนั้นในระยะยาว แต่มีสิ่งหนึ่งที่ปิดกั้นความฝันของมวลมนุษญ์ ทำให้เราไม่สามารถกลับไปเยี่ยมดาวพี่น้องของเราได้อีกครั้ง(พูดเหมือนเคยไปมาแล้ว)นั่นคือสภาพอากาศที่เลวร้ายซะยิ่งกว่านรกซะอีก มันคือนรกบนดินที่แท้จริงด้วยสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศที่ไม่เหมาะสมอย่างมากในการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตบนโลก จากปรากฏการดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกบนพื้นผิวรุนแรงมาก เพราะดาวศุกร์มีก๊าซที่ช่วยดูดกลืนความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มาก และ มีปริมาณสูง ก๊าซดังกล่าวคือ คาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนี้ยังมีไอของกรดกำมะถัน ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับไอน้ำ บรรยากาศของดาวศุกร์มีอาร์กอน ไนโตรเจน คาร์บอนมอนอกไซด์ นีออน- ไฮโดรคลอไรด์ และไฮโดรฟลูออไรด์ ทำให้ความกดดันบรรยกาศสูงกว่าโลก 90 เท่า ปรากฏการณ์เรือนกระจกบนพื้นผิวดาวศุกร์ ทำให้ดาวศุกร์ร้อนทั้งกลางวันและกลางคืน ตอนกลางวันอุณหภูมิสูงถึง 477 องศาเซลเซียส
เคยมีการลงจอดหลายครั้งที่ดาวศุกย์ เช่น ยานสำรวจอวกาศเเบบไร้คนขับของประเทศรัฐเซีย Venera 7 Venera 8 Venera9 Venera10 Venera11 Venera12 Venera13 เคยลงจอดแต่ก็ไม่สามารถทนสภาพภูมิศาสตร์ที่พื้นผิวของดาวศุกย์ได้ซึ่งสามารถอยู่สำรวจได้นานสุดแค่ 110 นาทีหรือ 1 ชั่วโมง 50 นาที (ยาน Venera 12) เท่านั้นเองขนาดยานสำรวจอวกาศยังพังแล้วเนื้อคนมันจะเหลืออะไรด้วยความกดดันบรรยากาศที่พื้นผิวสูงถึง 90 atm ทำให้เหมือนกับเรากำลังดำน้ำอยู่บนโลกด้วยความลึก 1 กิโลเมตรเลยที่เดียวแต่ถ้าเทียบกับดาวอังคารแล้วข้อมูลของดาวศุกย์นั้นช่างน้อยเสียเหลือเกินบางที่ในอนาคตอาจจะค้นพบอะไรใหม่ๆและสามารถเปลี่ยนสภาพภูมิศาสตร์ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ก็ได้ในอนาคต
รูปภาพยาน Venera
แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่ได้ล้มเลิกการสำรวจไปซะที่เดียว เรายังสามารถอาศัยอยู่บนดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ด้วยเทคโนโลยีเมืองลอยฟ้า(Cloud Citiy) ในชื่อโปรเจคการสำรวจ High Altitude Venus Operational Project (HAVOC) อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าที่พื้นผิวของดาวศุกย์จะเลวร้ายเพียงใดเหนือพื้นผิวขึ้นไป 55 กิโลเมตร ที่ชั้นบรรยากาศนี้มีอุณหภูมิประมาณ 27 องษาเซลเซียส 0.5 บาร์ (เทียบกับบนโลกที่ความสูงประมาณ 5.5 กิโลเมตร) ที่นั่นเราสามารถอาศัยอยู่ได้โดยใช้เพียงหน้ากากแก็สสำหรับให้ออกซิเจนเท่านั้น และใช้ใส่ชุดอวกาศสำหรับปกป้องรังสีจากดวงอาทิตย์(ที่มีน้อยกว่าในอวากาศเนื่องจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกย์) ซึ่งใช้อุปกรณ์น้อยกว่าโปรเจคที่จะไปดาวอังคารอยู่มาก
หวังว่าในอนาคตจะมีถ่ายทอดสดชีวิตบนดาวอังคารให้ดูคิดว่ายังไงถ้าลูกหลานเราในอนาคตมีโปรแกรมทัว์ดวงจันทร์หรือทัวร์ดาวอังคารง่ายเหมือนกับไปทัวร์ญี่ปุ่นยังไงยังงั้น ? อยากไปบ้างจังเเต่ไปเเล้วกลับมานะ สุดท้ายขอฝากคลิปวิดีโอของผมไว้สักหน่อยเพื่อใครที่ขี้เกียจอ่าน นะครับ
อ้างอิงเเละเรียบเรียงจาก
https://sacd.larc.nasa.gov/branches/space-mission-analysis-branch-smab/smab-projects/havoc/
https://www.space.com/24701-how-long-does-it-take-to-get-to-mars.html
http://gizmodo.com/how-long-humans-can-live-in-space-and-what-happens-if-w-1632091719
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C