ห้วข้อข่าวน่าสนใจครับ เลยขอเอามาตั้งประเด็นหน่อย...
-----------------
http://akibatan.com/2017/05/one-in-four-anime-studios-in-the-red-chart/?utm_source=dlvr.it&utm_medium=facebook
โดยข่าวนี้เป็นการรายงานจากทางช่องโทรทัศน์ NHK ครับ ดังนี้
ว่าแม้เราจะทราบกันดีว่าทุกวันนี้ ตลาดอนิเมชั่นจะเริ่มขยายไปต่างประเทศได้มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่จากรายการ Oikonomia ที่ออกอากาศทางช่อง NHK เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคมที่ผ่านมานั้น ได้มีการบอกเล่าถึงสถานการณ์อุตสาหกรรมอนิเมชั่นญี่ปุ่นในปัจจุบัน ว่าในช่วงระหว่างปี 2011-2014 นั้น ประมาณ 20% ของสตูดิโอผู้ผลิตอนิเมในประเทศญี่ปุ่น ได้ประสบภาวะขาดทุน (หรือบัญชีติดตัวแดง) และส่งผลให้ค่าแรงในอุตสาหกรรมนี้ลดถอยลงตามไปด้วย จนเมื่อปี 2015 การประสบภาวะขาดทุนของสตูดิโอต่าง ๆ ได้เพิ่มค่าเฉลี่ยขึ้นไปเป็น 25%
ซึ่งหมายความว่า อย่างน้อย ๆ 1 ใน 4 ของสตูดิโออนิเมญี่ปุ่นกำลังอยู่ในภาวะขาดทุน!
ไม่เพียงเท่านี้ ทางรายการยังได้มีการสำรวจกลุ่มตัวอย่างกับเหล่าอนิเมเตอร์ใน Tokyo Animator Dormitory (กลุ่มทำงานอนิเมเตอร์ที่ใช้ห้องพักทั้งการทำงานและพักอาศัยเหมือนหอพักด้วย) โดยพวกเขาได้ทราบตัวเลขอันน่าตกใจว่า กว่า 80% ของอนิเมเตอร์รุ่นใหม่นั้นจะลาออกภายใน 3 ปีหลังจากเริ่มงาน และส่วนใหญ่มักมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนราว ๆ 60,000 เยน (ประมาณ 20,000 บาทไทย) เท่านั้น (เทียบเป็นเงินบาทอาจจะเยอะ แต่ถ้าเทียบกับค่าครองชีพในญี่ปุ่นนั้น มีมูลค่าพอ ๆ กับได้เงินเดือน 6,000 บาทในประเทศไทย – ผู้เขียน)
และอนิเมเตอร์ท่านหนึ่ง (ชื่อ Akutsu Tetsuya) ยังเผยว่า เขาต้องทำงานกว่า 5 ชั่วโมงเพื่อวาดภาพอนิเมให้เสร็จในเฟรมเดียว และได้ค่าแรงเพียง 200 เยน (60 บาทไทย) ซึ่งเป็นจำนวนที่น้อยมาก (ในประเทศญี่ปุ่น ค่าแรงในการทำงานพาร์ทไทม์ที่ร้านสะดวกซื้อ เช่น Lawson ได้ค่าแรงชั่วโมงละประมาณ 900-1,000 เยน หรือ 300 บาทไทย ซึ่งเยอะกว่างานอนิเมเตอร์ตามข่าวนี้มาก – ผู้เขียน)
-------------------------------------------
ก็นั่นแหละครับ ปัญหาเรื่องคาแรงอนิเมเตอร์นี่เป็นปัญหามานานมาก เป็นข่าวทุกปี
ทั้งๆที่เป็นหัวหอกสำคัญของการสร้างอนิเม
-ส่วนตัว กลัวปัญหาจากการ ไหลของงานมากกว่า คือ งานที่ไหลไปตลาดต่างประเทศที่คาแรงถูกกว่า อย่าง จีน หรือเกาหลี
เพราะพวกนี้ ได้งานมากขึ้นฝีมือก็จะพัฒนามากขึ้นด้วย....ครับ ตอนนี้ฝีมือด้านงานภาพของทั้งสองประเทศที่หลังจากรับงานจากญี่ปุ่นมานาน
ก็สามารถทำอนิเมระดับเดียวกับญี่ปุ่นได้แล้ว
*อนึง ก็หมายถึงงานภาพน่ะนะ ด้านการกำกับภาพ การตัดต่อ ที่ทำให้งานดูสมูทต่อเนื่องกันและการครีเอต ญี่ปุ่นยังมีเอกลักษและเก่งอยู่มาก
เพราะญี่ปุ่นเองก็กล่อมเกลาประสบกาณ์ของตัวเองมาหลายสิบปีเหมือนกัน..
และพอตลาดเหล่านี้เติบโตยืนได้ด้วยตัวเอง ในที่สุด เมื่อทุกอย่างลงตัว อนิเมจากทั้งจีนและเกาหลีก็จะตีตลาด จนอาจทำให้อนิเมญี่ปุ่นเจอวิกฤต ก็ได้
แต่ก็นั่นแหละครับ การที่อนิเมเรื่องไหนมันจะขายได้ ไม่ได้อยู่ที่ว่า บ.ไหนทำอนิเมได้ถูกกว่ากัน หรืองานภาพสวยแค่ไหน
แต่มันอยู่ที่ เนื้อเรื่อง และความสดใหม่ของไอเดีย ซึ่งตลาดจินตนาการของญี่ปุ่นยังมีอยุ่มาก วัตุดิบมากมาย(ไลท์โนเวลเป็นแสนเป็นล้าน)
และเอกลักษณ์การเดินเนื้อเรื่องแบบญี่ปุ่น
-ที่สำคัญอีกอย่างคือ พลังในการสนับสนุน การอวย การซื้อสินค้า การต่อยอด ดารา ไอดอล เพลง คอนเสริต ที่ยังค้าขายในประเทศได้อีกมาก
วัฒนธรรมคาวาอี้ วัฒนธรรมโมเอะ การอินกับเหล่าตัวละครไวฟุ ต่างๆ
เป็นการยากที่ต่างประเทศจะเลียนแบบ เพราะการขายแต่อนิเมอย่างเดียวมันอยู่ยาก
*จีนเองก็เริ่มมีการใช้ โมเดลการ์ตูนมาโฆษณาขายของเล่น อย่างพวกการ์ตูน รถซิ่ง ลูกข่าง ที่เห็นในแผงCDบ้านเรา
ญีปุ่นเองก็ยังสนับสนุนตลาดส่วนนี้ยังมากอยู่
อะ นอกเรื่องไหลมาไกล แปะคลิบจบเลยละกันดูบิ้วอารมไป...
วิกฤต!!!?? สตูดิโออนิเมญี่ปุ่นกว่า 1 ใน 4 ของประเทศประสบปัญหาขาดทุนยับเยิน !!!
-----------------
http://akibatan.com/2017/05/one-in-four-anime-studios-in-the-red-chart/?utm_source=dlvr.it&utm_medium=facebook
โดยข่าวนี้เป็นการรายงานจากทางช่องโทรทัศน์ NHK ครับ ดังนี้
ว่าแม้เราจะทราบกันดีว่าทุกวันนี้ ตลาดอนิเมชั่นจะเริ่มขยายไปต่างประเทศได้มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่จากรายการ Oikonomia ที่ออกอากาศทางช่อง NHK เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคมที่ผ่านมานั้น ได้มีการบอกเล่าถึงสถานการณ์อุตสาหกรรมอนิเมชั่นญี่ปุ่นในปัจจุบัน ว่าในช่วงระหว่างปี 2011-2014 นั้น ประมาณ 20% ของสตูดิโอผู้ผลิตอนิเมในประเทศญี่ปุ่น ได้ประสบภาวะขาดทุน (หรือบัญชีติดตัวแดง) และส่งผลให้ค่าแรงในอุตสาหกรรมนี้ลดถอยลงตามไปด้วย จนเมื่อปี 2015 การประสบภาวะขาดทุนของสตูดิโอต่าง ๆ ได้เพิ่มค่าเฉลี่ยขึ้นไปเป็น 25%
ซึ่งหมายความว่า อย่างน้อย ๆ 1 ใน 4 ของสตูดิโออนิเมญี่ปุ่นกำลังอยู่ในภาวะขาดทุน!
ไม่เพียงเท่านี้ ทางรายการยังได้มีการสำรวจกลุ่มตัวอย่างกับเหล่าอนิเมเตอร์ใน Tokyo Animator Dormitory (กลุ่มทำงานอนิเมเตอร์ที่ใช้ห้องพักทั้งการทำงานและพักอาศัยเหมือนหอพักด้วย) โดยพวกเขาได้ทราบตัวเลขอันน่าตกใจว่า กว่า 80% ของอนิเมเตอร์รุ่นใหม่นั้นจะลาออกภายใน 3 ปีหลังจากเริ่มงาน และส่วนใหญ่มักมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนราว ๆ 60,000 เยน (ประมาณ 20,000 บาทไทย) เท่านั้น (เทียบเป็นเงินบาทอาจจะเยอะ แต่ถ้าเทียบกับค่าครองชีพในญี่ปุ่นนั้น มีมูลค่าพอ ๆ กับได้เงินเดือน 6,000 บาทในประเทศไทย – ผู้เขียน)
และอนิเมเตอร์ท่านหนึ่ง (ชื่อ Akutsu Tetsuya) ยังเผยว่า เขาต้องทำงานกว่า 5 ชั่วโมงเพื่อวาดภาพอนิเมให้เสร็จในเฟรมเดียว และได้ค่าแรงเพียง 200 เยน (60 บาทไทย) ซึ่งเป็นจำนวนที่น้อยมาก (ในประเทศญี่ปุ่น ค่าแรงในการทำงานพาร์ทไทม์ที่ร้านสะดวกซื้อ เช่น Lawson ได้ค่าแรงชั่วโมงละประมาณ 900-1,000 เยน หรือ 300 บาทไทย ซึ่งเยอะกว่างานอนิเมเตอร์ตามข่าวนี้มาก – ผู้เขียน)
-------------------------------------------
ก็นั่นแหละครับ ปัญหาเรื่องคาแรงอนิเมเตอร์นี่เป็นปัญหามานานมาก เป็นข่าวทุกปี
ทั้งๆที่เป็นหัวหอกสำคัญของการสร้างอนิเม
-ส่วนตัว กลัวปัญหาจากการ ไหลของงานมากกว่า คือ งานที่ไหลไปตลาดต่างประเทศที่คาแรงถูกกว่า อย่าง จีน หรือเกาหลี
เพราะพวกนี้ ได้งานมากขึ้นฝีมือก็จะพัฒนามากขึ้นด้วย....ครับ ตอนนี้ฝีมือด้านงานภาพของทั้งสองประเทศที่หลังจากรับงานจากญี่ปุ่นมานาน
ก็สามารถทำอนิเมระดับเดียวกับญี่ปุ่นได้แล้ว
*อนึง ก็หมายถึงงานภาพน่ะนะ ด้านการกำกับภาพ การตัดต่อ ที่ทำให้งานดูสมูทต่อเนื่องกันและการครีเอต ญี่ปุ่นยังมีเอกลักษและเก่งอยู่มาก
เพราะญี่ปุ่นเองก็กล่อมเกลาประสบกาณ์ของตัวเองมาหลายสิบปีเหมือนกัน..
และพอตลาดเหล่านี้เติบโตยืนได้ด้วยตัวเอง ในที่สุด เมื่อทุกอย่างลงตัว อนิเมจากทั้งจีนและเกาหลีก็จะตีตลาด จนอาจทำให้อนิเมญี่ปุ่นเจอวิกฤต ก็ได้
แต่ก็นั่นแหละครับ การที่อนิเมเรื่องไหนมันจะขายได้ ไม่ได้อยู่ที่ว่า บ.ไหนทำอนิเมได้ถูกกว่ากัน หรืองานภาพสวยแค่ไหน
แต่มันอยู่ที่ เนื้อเรื่อง และความสดใหม่ของไอเดีย ซึ่งตลาดจินตนาการของญี่ปุ่นยังมีอยุ่มาก วัตุดิบมากมาย(ไลท์โนเวลเป็นแสนเป็นล้าน)
และเอกลักษณ์การเดินเนื้อเรื่องแบบญี่ปุ่น
-ที่สำคัญอีกอย่างคือ พลังในการสนับสนุน การอวย การซื้อสินค้า การต่อยอด ดารา ไอดอล เพลง คอนเสริต ที่ยังค้าขายในประเทศได้อีกมาก
วัฒนธรรมคาวาอี้ วัฒนธรรมโมเอะ การอินกับเหล่าตัวละครไวฟุ ต่างๆ
เป็นการยากที่ต่างประเทศจะเลียนแบบ เพราะการขายแต่อนิเมอย่างเดียวมันอยู่ยาก
*จีนเองก็เริ่มมีการใช้ โมเดลการ์ตูนมาโฆษณาขายของเล่น อย่างพวกการ์ตูน รถซิ่ง ลูกข่าง ที่เห็นในแผงCDบ้านเรา
ญีปุ่นเองก็ยังสนับสนุนตลาดส่วนนี้ยังมากอยู่
อะ นอกเรื่องไหลมาไกล แปะคลิบจบเลยละกันดูบิ้วอารมไป...