ภาพประวัติศาสตร์ ที่เป็นภาพสีภาพแรก ของสัตว์ที่มีชื่อชนิด ว่า siamensis แต่ไม่พบในประเทศไทย เพราะ เขตกระจายพันธุ์หลักและแหล่งเก็บตัวอย่าง type specimen and locality อยู่ในรัฐภายใต้อาณัติสยาม ที่เสียให้อังกฤษไป เพื่อความอยู่รอดของประเทศสยาม
ค่างชนิดนี้คือ ค่างต้นขานวล (ตัวจริง) หรือ ค่างสยาม หรือ ค่างหงอกน่องขาว Siamese White-thighed Langur Presbytis siamensis siamensis (Müller & Schlegel, 1841) เพราะรายงานการค้นพบก่อนหน้านี้ ก็น่าจะเป็นการจำแนกผิด ถือว่าเป็น misidentification
ขอบคุณ เจ๊แมวคนเก่ง ที่ถ่าย ค่างสยาม พร้อมนกเงือกหัวแรด ภาพนี้มาจาก บาลา ฝั่งนราธิวาส ซึ่งช่วยยืนยันการมีอยู่จริงของค่างชนิดนี้ในประเทศไทย
A new record of langur species is from Southern Thailand. The specific epitet of this species 'siamensis' is denoting to Siamese or Old Thai Kingdom. In 1838, the type specimen and locality are from the protected state under Siamese control which Siam lost these states to England by the Anglo-Siamese treaty of 1909. The Siamese White-thighed Langur Presbytis siamensis siamensis (Müller & Schlegel, 1841) is identified by white cheek and tigh, with grey on its back.
Thank Ms. Saengduan Thanomwongthana for her extraordinary photograph, Siamese langur and Rhinoceros hornbill.
เนื่องด้วยชื่อภาษาท้องถิ่น ไม่ได้ถูกควบคุมโดยกฎ iczn จึงสามารถมีความหลากหลาย และขึ้นอยู่กับความนิยมในการใช้ภาษาของสมาชิกในสัมคมภาษานั้น
โดยที่ชื่ออังกฤษเอง ก็มีหลายชื่อ
กล่าวคือ หมายถึงชนิดย่อย siamensis
Siamese vs Malaysian
white vs pale
langur vs surili
ได้เป็น
Siamese white-thighed langur
Siamese white-thighed surili
Siamese pale-thighed langur
Siamese pale-thighed surili
Malaysian white-thighed langur
Malaysian white-thighed surili
Malaysian pale-thighed langur
Malaysian pale-thighed surili
ภาษาไทยเอง
เดิมก็เรียกตามอนุกรมวิธานเก่า ที่จัดอยู่ในชนิดรวมว่า
Presbytis cristata ค่างหงอก
แล้วจึงจำแนกแยกออกไปเป็นหลายชนิด
จึงขอเรียนเชิญคนไทยร่วมโหวตได้ครับ
*** ปิดโหวต วันที่ 06 พฤษภาคม พ.ศ.2560 เวลา 01:12:30 น.
##### สัตว์ที่มีชื่อชนิดละตินว่า 'siamensis' แต่เพิ่งจะมีภาพถ่ายสี่สีออกมาสู่สาธารณะบนโลกออนไลน์ #####
ภาพประวัติศาสตร์ ที่เป็นภาพสีภาพแรก ของสัตว์ที่มีชื่อชนิด ว่า siamensis แต่ไม่พบในประเทศไทย เพราะ เขตกระจายพันธุ์หลักและแหล่งเก็บตัวอย่าง type specimen and locality อยู่ในรัฐภายใต้อาณัติสยาม ที่เสียให้อังกฤษไป เพื่อความอยู่รอดของประเทศสยาม
ค่างชนิดนี้คือ ค่างต้นขานวล (ตัวจริง) หรือ ค่างสยาม หรือ ค่างหงอกน่องขาว Siamese White-thighed Langur Presbytis siamensis siamensis (Müller & Schlegel, 1841) เพราะรายงานการค้นพบก่อนหน้านี้ ก็น่าจะเป็นการจำแนกผิด ถือว่าเป็น misidentification
ขอบคุณ เจ๊แมวคนเก่ง ที่ถ่าย ค่างสยาม พร้อมนกเงือกหัวแรด ภาพนี้มาจาก บาลา ฝั่งนราธิวาส ซึ่งช่วยยืนยันการมีอยู่จริงของค่างชนิดนี้ในประเทศไทย
A new record of langur species is from Southern Thailand. The specific epitet of this species 'siamensis' is denoting to Siamese or Old Thai Kingdom. In 1838, the type specimen and locality are from the protected state under Siamese control which Siam lost these states to England by the Anglo-Siamese treaty of 1909. The Siamese White-thighed Langur Presbytis siamensis siamensis (Müller & Schlegel, 1841) is identified by white cheek and tigh, with grey on its back.
Thank Ms. Saengduan Thanomwongthana for her extraordinary photograph, Siamese langur and Rhinoceros hornbill.
เนื่องด้วยชื่อภาษาท้องถิ่น ไม่ได้ถูกควบคุมโดยกฎ iczn จึงสามารถมีความหลากหลาย และขึ้นอยู่กับความนิยมในการใช้ภาษาของสมาชิกในสัมคมภาษานั้น
โดยที่ชื่ออังกฤษเอง ก็มีหลายชื่อ
กล่าวคือ หมายถึงชนิดย่อย siamensis
Siamese vs Malaysian
white vs pale
langur vs surili
ได้เป็น
Siamese white-thighed langur
Siamese white-thighed surili
Siamese pale-thighed langur
Siamese pale-thighed surili
Malaysian white-thighed langur
Malaysian white-thighed surili
Malaysian pale-thighed langur
Malaysian pale-thighed surili
ภาษาไทยเอง
เดิมก็เรียกตามอนุกรมวิธานเก่า ที่จัดอยู่ในชนิดรวมว่า
Presbytis cristata ค่างหงอก
แล้วจึงจำแนกแยกออกไปเป็นหลายชนิด
จึงขอเรียนเชิญคนไทยร่วมโหวตได้ครับ