ปัจจุบันปัญหาจำนวนป่าไม้ของประเทศไทยเป็นปัญหาใหญ่ระดับชาติ สาเหตุหลักนั้นเกิดจากการบุกรุกที่ดิน เพื่อสร้างแหล่งที่ทำกินประกอบกับชุมชนขาดความรู้การจัดการที่ดินทำกินเดิมของตนเองให้มีมูลค่าต่อการเพิ่มรายได้ของตน โดยเฉพาะพื้นที่บนภูเขาภาคเหนือที่เป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญ
จึงเกิดโครงการ สร้างป่า สร้างรายได้ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยราษฎรพื้นที่สูง เนื่องจากป่าต้นน้ำลำธารถูกบุกรุกทำลายส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ จึงพระราชทานแนวทางการพัฒนาการฟื้นฟูป่าต้นน้ำ โดยการปลูกป่าร่วมกับพืชเศรษฐกิจ เพื่อใช้ชาวบ้านสามารถสร้างรายได้ รวมทั้งทำให้มีป่าเพิ่มมากขึ้นอีกทางหนึ่ง
สำหรับการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน เช่น เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี ได้ผนึกกำลังร่วมกับมูลนิธิพัฒนาชีวิตชนบทสนับสนุนเรื่องปุ๋ย บริษัทเจริญโภคภัณฑ์การเกษตร จำกัด ช่วยติดต่อประสานงานโครงการ และบริษัท ซีพี รีเทลลิงค์ จำกัด ช่วยด้านการตลาด รวมไปถึงหน่วยงานสํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นหน่วยอํานวยการ
ร่วมกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้นที่สูงจากทําไร่ ปลูกพืชเกษตรเชิงเดี่ยว เป็นการปลูกพืชแบบผสมผสาน เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าต้นน้ำ ชาวบ้านเข้าร่วมโครงการปลูกกาแฟมากขึ้น ในปีแรก 2556 ได้รับการสนับสนุนจากกรมวิชาการ 35,000 ต้น ปัจจุบันมีความต้องการตันกล้าเพิ่มขึ้นปีละ 35,000 ต้น เนื่องจากในปี 2559 เกษตรเริ่มเก็บผลผลิตและจำหน่ายได้แล้ว
เช่น ตัวอย่างแปลงสาธิตชาอูหลง ในพื้นที่ ๑๕ ไร่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จึงมีพระราชดำริให้เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพีไปศึกษาความเป็นไปได้ในการปลูกชาอูหลง ที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับราษฎร กลุ่มพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้เข้าไปสำรวจพื้นที่และศึกษาความเป็นไปได้ พบว่า สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศสามารถปลูกชาอูหลงได้
จึงมีพระราชดำริให้ เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี ไปศึกษาความเป็นไปได้ในการปลูกชาอูหลง ที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับราษฎร กลุ่มพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้เข้าไปสำรวจพื้นที่และศึกษาความเป็นไปได้ พบว่า สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศสามารถปลูกชาอูหลงได้
จึงได้เริ่มขยายพันธุ์และถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรในศูนย์ภูฟ้าพัฒนาที่มีความสนใจนำไปปลูก ซึ่งถือว่าชาวบ้านในชุมชนไม่ต้องรับความเสี่ยงต่อการลงทุนแล้วไม่ประสบความสำเร็จ และพัฒนาแปรรูปชาหมักถึงกระบวนการบรรจุ ภายใต้ชื่อ "ชาภูฟ้า" ปัจจุบันชาอูหลงจึงนับเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ทำรายได้ให้กับเกษตรกรของศูนย์ภูฟ้าพัฒนาดังพระราชประสงค์ ภายใต้โครงการ สร้างป่า สร้างรายได้ แก่ชุมชนพื้นที่บนภูเขาสูงได้อย่างยั่งยืน
ปล. เพื่อร่วมกันส่งเสริมรายได้แก่พี่น้องชาวไทยภูเขา อย่าลืมเดินเข้าร้านภูฟ้า อุดหนุนชาอู่หลงมาดื่มเพื่อสุขภาพกันนะคะ
เชื่อหรือไม่! ป่า...ทำเงินได้
จึงเกิดโครงการ สร้างป่า สร้างรายได้ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยราษฎรพื้นที่สูง เนื่องจากป่าต้นน้ำลำธารถูกบุกรุกทำลายส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ จึงพระราชทานแนวทางการพัฒนาการฟื้นฟูป่าต้นน้ำ โดยการปลูกป่าร่วมกับพืชเศรษฐกิจ เพื่อใช้ชาวบ้านสามารถสร้างรายได้ รวมทั้งทำให้มีป่าเพิ่มมากขึ้นอีกทางหนึ่ง
สำหรับการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน เช่น เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี ได้ผนึกกำลังร่วมกับมูลนิธิพัฒนาชีวิตชนบทสนับสนุนเรื่องปุ๋ย บริษัทเจริญโภคภัณฑ์การเกษตร จำกัด ช่วยติดต่อประสานงานโครงการ และบริษัท ซีพี รีเทลลิงค์ จำกัด ช่วยด้านการตลาด รวมไปถึงหน่วยงานสํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นหน่วยอํานวยการ
ร่วมกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้นที่สูงจากทําไร่ ปลูกพืชเกษตรเชิงเดี่ยว เป็นการปลูกพืชแบบผสมผสาน เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าต้นน้ำ ชาวบ้านเข้าร่วมโครงการปลูกกาแฟมากขึ้น ในปีแรก 2556 ได้รับการสนับสนุนจากกรมวิชาการ 35,000 ต้น ปัจจุบันมีความต้องการตันกล้าเพิ่มขึ้นปีละ 35,000 ต้น เนื่องจากในปี 2559 เกษตรเริ่มเก็บผลผลิตและจำหน่ายได้แล้ว
เช่น ตัวอย่างแปลงสาธิตชาอูหลง ในพื้นที่ ๑๕ ไร่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จึงมีพระราชดำริให้เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพีไปศึกษาความเป็นไปได้ในการปลูกชาอูหลง ที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับราษฎร กลุ่มพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้เข้าไปสำรวจพื้นที่และศึกษาความเป็นไปได้ พบว่า สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศสามารถปลูกชาอูหลงได้
จึงมีพระราชดำริให้ เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ ซีพี ไปศึกษาความเป็นไปได้ในการปลูกชาอูหลง ที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับราษฎร กลุ่มพืชครบวงจรเครือเจริญโภคภัณฑ์ จึงได้เข้าไปสำรวจพื้นที่และศึกษาความเป็นไปได้ พบว่า สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศสามารถปลูกชาอูหลงได้
จึงได้เริ่มขยายพันธุ์และถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรในศูนย์ภูฟ้าพัฒนาที่มีความสนใจนำไปปลูก ซึ่งถือว่าชาวบ้านในชุมชนไม่ต้องรับความเสี่ยงต่อการลงทุนแล้วไม่ประสบความสำเร็จ และพัฒนาแปรรูปชาหมักถึงกระบวนการบรรจุ ภายใต้ชื่อ "ชาภูฟ้า" ปัจจุบันชาอูหลงจึงนับเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ทำรายได้ให้กับเกษตรกรของศูนย์ภูฟ้าพัฒนาดังพระราชประสงค์ ภายใต้โครงการ สร้างป่า สร้างรายได้ แก่ชุมชนพื้นที่บนภูเขาสูงได้อย่างยั่งยืน
ปล. เพื่อร่วมกันส่งเสริมรายได้แก่พี่น้องชาวไทยภูเขา อย่าลืมเดินเข้าร้านภูฟ้า อุดหนุนชาอู่หลงมาดื่มเพื่อสุขภาพกันนะคะ