เจตสิก 52 (ธรรมที่ประกอบกับจิต, สภาวธรรมที่เกิดดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์และวัตถุที่อาศัยเดียวกันกับจิต, อาการและคุณสมบัติต่างๆ ของจิต )
ก. อัญญาสมานาเจตสิก 13 (เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้กับจิตทุกฝ่ายทั้งกุศลและอกุศล มิใช่เข้าได้แต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพวกเดียว)
1) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง )
1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์ )
2. เวทนา (ความเสวยอารมณ์ )
3. สัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ )
4. เจตนา (ความจงใจต่ออารมณ์ )
5. เอกัคคตา (ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว )
6. ชีวิตินทรีย์ (อินทรีย์คือชีวิต, สภาวะที่เป็นใหญ่ในการรักษานามธรรมทั้งปวง)
7. มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ )
2) ปกิณณกเจตสิก 6 (เจตสิกที่เรี่ยรายแพร่กระจายทั่วไป คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศล และอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง)
8. วิตก (ความตรึกอารมณ์ )
9. วิจาร (ความตรองหรือพิจารณาอารมณ์ )
10. อธิโมกข์ (ความปลงใจหรือปักใจในอารมณ์ )
11. วิริยะ (ความเพียร)
12. ปีติ (ความปลาบปลื้มในอารมณ์, อิ่มใจ )
13. ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์ )
ข. อกุศลเจตสิก 14 (เจตสิกฝ่ายอกุศล )
1) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับอกุศลจิตทุกดวง )
14. โมหะ (ความหลง)
15. อหิริกะ (ความไม่ละอายต่อบาป )
16. อโนตตัปปะ (ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป)
17. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน)
2) ปกิณณกอกุศลเจตสิก 10 (อกุศลเจตสิกที่เกิดเรี่ยรายแก่อกุศลจิต )
18. โลภะ (ความอยากได้อารมณ์ )
19. ทิฏฐิ (ความเห็นผิด )
20. มานะ (ความถือตัว t)
21. โทสะ (ความคิดประทุษร้าย )
22. อิสสา (ความริษยา)
23. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ )
24. กุกกุจจะ (ความเดือดร้อนใจ)
25. ถีนะ (ความหดหู่ )
26. มิทธะ (ความง่วงเหงา )
27. วิจิกิจฉา (ความคลางแคลงสงสัย)
ค. โสภณเจตสิก 25 (เจตสิกฝ่ายดีงาม )
1) โสภณสาธารณเจตสิก 19 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง )
28. สัทธา (ความเชื่อ )
29. สติ (ความระลึกได้, ความสำนึกพร้อมอยู่ )
30. หิริ (ความละอายต่อบาป )
31. โอตตัปปะ (ความสะดุ้งกลัวต่อบาป )
32. อโลภะ (ความไม่อยากได้อารมณ์ )
33. อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้าย )
34. ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้นๆ )
35. กายปัสสัทธิ (ความสงบแห่งกองเจตสิก)
36. จิตตปัสสัทธิ (ความสงบแห่งจิต )
37. กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก)
38. จิตตลหุตา (ความเบาแห่งจิต )
39. กายมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก )
40. จิตตมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งจิต )
41. กายกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งกองเจตสิก )
42. จิตตกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งจิต )
43. กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก)
44. จิตตปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งจิต)
45. กายุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก )
46. จิตตุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งจิต)
2) วิรตีเจตสิก 3 (เจตสิกที่เป็นตัวความงดเว้น)
47. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)
48. สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ
49. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ )
3) อัปปมัญญาเจตสิก 2 (เจตสิกคืออัปปมัญญา)
50. กรุณา (ความสงสารสัตว์ผู้ถึงทุกข์ )
51. มุทิตา (ความยินดีต่อสัตว์ผู้ได้สุข )
4) ปัญญินทรีย์เจตสิก 1 (เจตสิกคือปัญญินทรีย์ )
52. ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ (ความรู้เข้าใจ ไม่หลง )
รบกวนช่วยตัดลำดับข้อพระอริยะ ไล่ลำดับพระอริยะแต่ละขั้น ตัดข้อไหนออกไป ทีละสเตปให้หน่อยครับ ขอบคุณครับ
ถามเรื่องเจตสิก พระอริยะ รบกวนแยกออกทีละข้อให้หน่อยครับ
ก. อัญญาสมานาเจตสิก 13 (เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้กับจิตทุกฝ่ายทั้งกุศลและอกุศล มิใช่เข้าได้แต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพวกเดียว)
1) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง )
1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์ )
2. เวทนา (ความเสวยอารมณ์ )
3. สัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ )
4. เจตนา (ความจงใจต่ออารมณ์ )
5. เอกัคคตา (ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว )
6. ชีวิตินทรีย์ (อินทรีย์คือชีวิต, สภาวะที่เป็นใหญ่ในการรักษานามธรรมทั้งปวง)
7. มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ )
2) ปกิณณกเจตสิก 6 (เจตสิกที่เรี่ยรายแพร่กระจายทั่วไป คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศล และอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง)
8. วิตก (ความตรึกอารมณ์ )
9. วิจาร (ความตรองหรือพิจารณาอารมณ์ )
10. อธิโมกข์ (ความปลงใจหรือปักใจในอารมณ์ )
11. วิริยะ (ความเพียร)
12. ปีติ (ความปลาบปลื้มในอารมณ์, อิ่มใจ )
13. ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์ )
ข. อกุศลเจตสิก 14 (เจตสิกฝ่ายอกุศล )
1) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับอกุศลจิตทุกดวง )
14. โมหะ (ความหลง)
15. อหิริกะ (ความไม่ละอายต่อบาป )
16. อโนตตัปปะ (ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป)
17. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน)
2) ปกิณณกอกุศลเจตสิก 10 (อกุศลเจตสิกที่เกิดเรี่ยรายแก่อกุศลจิต )
18. โลภะ (ความอยากได้อารมณ์ )
19. ทิฏฐิ (ความเห็นผิด )
20. มานะ (ความถือตัว t)
21. โทสะ (ความคิดประทุษร้าย )
22. อิสสา (ความริษยา)
23. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ )
24. กุกกุจจะ (ความเดือดร้อนใจ)
25. ถีนะ (ความหดหู่ )
26. มิทธะ (ความง่วงเหงา )
27. วิจิกิจฉา (ความคลางแคลงสงสัย)
ค. โสภณเจตสิก 25 (เจตสิกฝ่ายดีงาม )
1) โสภณสาธารณเจตสิก 19 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง )
28. สัทธา (ความเชื่อ )
29. สติ (ความระลึกได้, ความสำนึกพร้อมอยู่ )
30. หิริ (ความละอายต่อบาป )
31. โอตตัปปะ (ความสะดุ้งกลัวต่อบาป )
32. อโลภะ (ความไม่อยากได้อารมณ์ )
33. อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้าย )
34. ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้นๆ )
35. กายปัสสัทธิ (ความสงบแห่งกองเจตสิก)
36. จิตตปัสสัทธิ (ความสงบแห่งจิต )
37. กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก)
38. จิตตลหุตา (ความเบาแห่งจิต )
39. กายมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก )
40. จิตตมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งจิต )
41. กายกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งกองเจตสิก )
42. จิตตกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งจิต )
43. กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก)
44. จิตตปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งจิต)
45. กายุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก )
46. จิตตุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งจิต)
2) วิรตีเจตสิก 3 (เจตสิกที่เป็นตัวความงดเว้น)
47. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)
48. สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ
49. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ )
3) อัปปมัญญาเจตสิก 2 (เจตสิกคืออัปปมัญญา)
50. กรุณา (ความสงสารสัตว์ผู้ถึงทุกข์ )
51. มุทิตา (ความยินดีต่อสัตว์ผู้ได้สุข )
4) ปัญญินทรีย์เจตสิก 1 (เจตสิกคือปัญญินทรีย์ )
52. ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ (ความรู้เข้าใจ ไม่หลง )
รบกวนช่วยตัดลำดับข้อพระอริยะ ไล่ลำดับพระอริยะแต่ละขั้น ตัดข้อไหนออกไป ทีละสเตปให้หน่อยครับ ขอบคุณครับ