ตัณหา
อกุศล เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งการนำสัตว์ไปเกิด
ตัณหา ฉันทะ ราคะ นันทิ อภิชฌา โลภะ
ตัณหา = ความปรารถนาอันเป็นอกุศล ผลคือทุกข์ , ฉันทะ = ความปรารถนาอันเป็นกุศล ผลคือสุข
ราคะ = ความกำหนัดยินดีในอารมณ์อันน่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก , นันทิ = ความเพลินในอารมณ์
อภิชฌา = การเพ่งเล็งในทรัพย์ของผู้อื่น , โลภะ = ความทะยานอยากในอารมณ์
ตัณหา , โลภะ = กามตัณหา ภวตัณหา วิภาวะตัณหา
กามตัณหา = ความกำหนัดยินดีในกามคุณ ๕ , รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อันน่าปรารถนา น่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก
ภวตัณหา = ความทะยานอยากในอารมณ์อันน่าปรารถนา น่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก , ทะยานอยากใน ภพอันน่าปรารถนา ฯลฯ
วิภาวะตัณหา = ความทะยานอยากให้พ้นไปจากอารมณ์อันไม่น่าปรารถนา ฯลฯ , ทะยานอยากให้พ้นไปจาก ภพอันไม่น่าปรารถนา ฯลฯ
ตัณหา โลภะ , มีสภาวะแผดเผา ร้อนรน ทุรนทุราย
เหตุแห่งตัณหา = อวิชชา ความไม่รู้ในสัจจะสภาวะธรรมทั้งปวงตามความเป็นจริง
ความดับแห่งตัณหา = วิชชา ปัญญาอันรู้แจ้งสัจจะสภาวะธรรมทั้งปวงตามความเป็นจริง อันเป็นผลมาจากอริยมรรค
ตัณหา , เกิดดับที่อายตนะ , เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
องค์ธรรมที่ประกอบในตัณหา
โลภะ = ธรรมอันเป็นประธาน ทำหน้าที่เป็นใหญ่
ทิฎฐิ = ความเห็นผิดในสภาวะธรรมทั้งปวง
มานะ = ความเย่อหยิ่ง ถือตัว , ว่าดีกว่า เสมอ ต่ำกว่า ผู้อื่น
ตัณหา = ทุกขสมุทัย เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งการอุบัติของสัตว์
ตัณหา นายช่างผู้ปลูกเรือนแห่งวัฎฎะสงสาร
ตัณหา
อกุศล เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งการนำสัตว์ไปเกิด
ตัณหา ฉันทะ ราคะ นันทิ อภิชฌา โลภะ
ตัณหา = ความปรารถนาอันเป็นอกุศล ผลคือทุกข์ , ฉันทะ = ความปรารถนาอันเป็นกุศล ผลคือสุข
ราคะ = ความกำหนัดยินดีในอารมณ์อันน่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก , นันทิ = ความเพลินในอารมณ์
อภิชฌา = การเพ่งเล็งในทรัพย์ของผู้อื่น , โลภะ = ความทะยานอยากในอารมณ์
ตัณหา , โลภะ = กามตัณหา ภวตัณหา วิภาวะตัณหา
กามตัณหา = ความกำหนัดยินดีในกามคุณ ๕ , รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อันน่าปรารถนา น่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก
ภวตัณหา = ความทะยานอยากในอารมณ์อันน่าปรารถนา น่ารัก น่าไคร่ ชวนให้หลงรัก , ทะยานอยากใน ภพอันน่าปรารถนา ฯลฯ
วิภาวะตัณหา = ความทะยานอยากให้พ้นไปจากอารมณ์อันไม่น่าปรารถนา ฯลฯ , ทะยานอยากให้พ้นไปจาก ภพอันไม่น่าปรารถนา ฯลฯ
ตัณหา โลภะ , มีสภาวะแผดเผา ร้อนรน ทุรนทุราย
เหตุแห่งตัณหา = อวิชชา ความไม่รู้ในสัจจะสภาวะธรรมทั้งปวงตามความเป็นจริง
ความดับแห่งตัณหา = วิชชา ปัญญาอันรู้แจ้งสัจจะสภาวะธรรมทั้งปวงตามความเป็นจริง อันเป็นผลมาจากอริยมรรค
ตัณหา , เกิดดับที่อายตนะ , เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
องค์ธรรมที่ประกอบในตัณหา
โลภะ = ธรรมอันเป็นประธาน ทำหน้าที่เป็นใหญ่
ทิฎฐิ = ความเห็นผิดในสภาวะธรรมทั้งปวง
มานะ = ความเย่อหยิ่ง ถือตัว , ว่าดีกว่า เสมอ ต่ำกว่า ผู้อื่น
ตัณหา = ทุกขสมุทัย เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งการอุบัติของสัตว์
ตัณหา นายช่างผู้ปลูกเรือนแห่งวัฎฎะสงสาร