เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 3 : Deepavali Eve @ Little India เป็นตอนที่สามต่อจาก
"เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 1 : Mandai Crematorium"
http://ppantip.com/topic/35936275
และ เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 2 : Mandai Columbarium"
http://ppantip.com/topic/35939615
16.16 น.ลงไปสถานี MRT City Hall ที่ชั้นใต้ดินของ Raffles City
เพื่อไปเดินชมบรรยากาศวันก่อนเทศกาล Deepavali ใน Little India บนถนน Seragoon Road
-Deepavali หรือ Diwali เทศกาลแห่งแสงสว่าง ที่เหล่าผู้บูชาเทพรู้จักกันดี
ว่าเป็นวันบูชาพระแม่มหาลักษมีเทวีแห่งทรัพย์และการเงิน แต่ลึกลงไปมากกว่านั้นยังมีอีกหลายตำนาน
ตำนานที่มาของเทศกาลดีปาวลี สามารถสืบย้อนกลับไปในสมัยอินเดียโบราณ
บางรัฐในอินเดียเชื่อว่า เทศกาลนี้เป็นงานฉลองการแต่งงานของพระลักษมีกับพระวิษณุ
ในขณะที่ในรัฐเบงกอลทางตะวันตกของอินเดีย เทศกาลนี้จะเกิดขึ้นเพื่อเคารพสักการะ
พระแม่กาลีมหาเทวีแห่งความแข็งแกร่งและผู้ปราบมาร,พระพิฆเนศ พระเป็นเจ้าผู้มีเศียรเป็นช้าง
ผู้เป็นพระเจ้าแห่งสัญลักษณ์ของความเป็นมงคลและภูมิปัญญาและยังบูชามากที่สุดมาจวบจนถึงปัจจุบันนี้
ในเชนไน ดีปาวลีนั้นมีความสำคัญจากเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ของพระเจ้ามหิวาราผู้ได้บรรลุนิพพาน
เทศกาลดิวาลี ยังเป็นการเฉลิมฉลองเอกราช ที่ได้รับกลับมาโดยพระรามพร้อมกับนางสีดาและพระลักษณ์
จากสิบสี่ปีที่ถูกเนรเทศของเขายาวและการปราบปีศาจกษัตริย์แห่งยักษ์อสูร ทศกัณฐ์ หรือ ราวัณ (Ravana)
และการเฉลิมฉลองความสุข ของการกลับมาของกษัตริย์ของอโยธยา เมืองแห่งพระราม
ผู้เป็นสว่างแห่งอาณาจักรด้วยตะเกียงดิน Diyas (ตะเกียงน้ำมันสร้างขึ้นด้วยดินปั้น)
http://www.hindumeeting.com/forum/index.php?topic=4990.0;wap2
ตั๋วชั่วคราวระบบใหม่ ไม่มีมัดจำค่าบัตร 1 SGD
ที่ต้องเสียเวลาเสียบบัตรอีกรอบเพื่อรับมัดจำคืนขาออก
ช่วยลดความแออัดที่หน้าตู้ซื้อบัตรโดยสารอัตโนมัติ
ขึ้นสายสีแดง
ไปต่อสายสีม่วงที่สถานี Dhoby Ghaut
หรือ "ตัวเหม่ยเกอ" ที่แปลจีนเป็นไทยว่า "พี่ชายรูปหล่อ"
ไม่ลงที่สถานี Little India
แต่ไปขึ้นที่สถานี Farrer Park ซึ่งเป็นสถานีเดียวกับการจะไปกินบ๊ะกุ๊ดเต๋
ที่ร้าน Ng Ah Sio Bak Kut Teh ร้านดั้งเดิมที่ Rangoon Road
ออกทางด้านทางเข้าออก C-F ไปออกที่สี่แยก Race Cource Road ตัดกับ Birch Road
แทนการไปออกที่แยก Rangoon Road ตัดกับ Kitchener Road และ Serangoon Road (ทางออก A)
ออกทางด้านออก C ฝั่ง Birch Road ทางออกทั้งสองด้านของสถานี Ferra Park
อยู่ใกล้กับศูนย์การค้า Mustafa Center ยอดนิยมของคนไทย ถ้าออกที่สถานี Little India เดินไกล
มองไปทาง Farrer Park Station Road
บนลานว่างระหว่าง Birch Road และ Burmah Road มีการกางเต็นท์ออกร้านขายของ
เป็นตลาดนัดแขกช่วง Deepavali ข้าม Birch Road ไปฝั่ง Farrer Park Station Road
เหมือนยกตลาด Bugis มาไว้ที่นี่
ราคาเดียวทั้งร้าน
ส่วนใหญ่สีสันฉูดฉาด
ใส่เมืองไทยไม่น่าจะเหมาะ
กระเป๋าถือ
สายรัดข้อมือ
เสื้อผ้าผู้ชาย
กระเช้าของขวัญในกรงนก
วาดเฮนน่า
มีอัลบั้มให้เลือกลาย
ร้านขายของประดับบ้านในวันปีใหม่
กำยานและถ้วยตะเกียงดิน Diyas สำหรับจุดกำยาน หรือจุดเป็นตะเกียงไฟบูชาเทพเจ้า
ร้านของกินหน้าทางเข้าด้าน Serangoon Road
ร้านนี้ใหญ่ที่สุด ชื่อร้าน Mr.Vadai
เก็บภาพอาหารร้านนี้สักหน่อย
Vadai หรือ Vada เป็นของกินชุบแป้งทอด
ที่ไส้ในเป็นถั่วชนิดต่าง ๆ สาคู หรือ มันฝรั่ง บดและผสมกับผักและเครื่องปรุงรส
https://en.wikipedia.org/wiki/Vada_(food)
ทอดย่างกันอยู่ด้านหลังคนขายและข้างร้าน
นอกจากไส้ถั่วชนิดต่าง ๆ สาคูและมันฝรั่งบดแล้ว
ยังมีไส้ผักล้วนผสมพริกสำหรับนักมังสวิรัติ
ส่วนไส้เนื้อสัตว์ มี เนื้อไก่ ปู และปลา
มีทั้งแบบปั้นกลมทอด และกดเป็นแผ่นแบนทอด
คุ้กกี้อินเดียแบบมังสวิรัติ
ใส่โถพลาสติกเหมาะเป็นของขวัญ
แวะร้านขายน้ำมะพร้าวและน้ำอ้อย
น้ำอ้อยคั้นเครื่อง
มะพร้าวอ่อน น้ำเยอะแต่เปรี้ยว
ส่วนมะพร้าวต้ม ดื่มน้ำเสร็จส่งให้พ่อค้าเคาะรอบกลางลูก
ได้เป็นสองส่วนวางหงายซ้อนกัน มีช้อนพลาสติกให้ตักกินเนื้อ
พลุและดอกไม้ไฟ
ร้านคุ้กกี้อีกร้าน มีคุ้กกี้สิงคโปร์ด้วย
17.05 น. ออกจากตลาดนัดมาที่ Serangoon Road
[CR] เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 3 : Deepavali Eve @ Little India
"เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 1 : Mandai Crematorium"
http://ppantip.com/topic/35936275
และ เที่ยวไปกินไป by laser @ สิงคโปร์ : ไปงานศพ 2 : Mandai Columbarium"
http://ppantip.com/topic/35939615
16.16 น.ลงไปสถานี MRT City Hall ที่ชั้นใต้ดินของ Raffles City
เพื่อไปเดินชมบรรยากาศวันก่อนเทศกาล Deepavali ใน Little India บนถนน Seragoon Road
-Deepavali หรือ Diwali เทศกาลแห่งแสงสว่าง ที่เหล่าผู้บูชาเทพรู้จักกันดี
ว่าเป็นวันบูชาพระแม่มหาลักษมีเทวีแห่งทรัพย์และการเงิน แต่ลึกลงไปมากกว่านั้นยังมีอีกหลายตำนาน
ตำนานที่มาของเทศกาลดีปาวลี สามารถสืบย้อนกลับไปในสมัยอินเดียโบราณ
บางรัฐในอินเดียเชื่อว่า เทศกาลนี้เป็นงานฉลองการแต่งงานของพระลักษมีกับพระวิษณุ
ในขณะที่ในรัฐเบงกอลทางตะวันตกของอินเดีย เทศกาลนี้จะเกิดขึ้นเพื่อเคารพสักการะ
พระแม่กาลีมหาเทวีแห่งความแข็งแกร่งและผู้ปราบมาร,พระพิฆเนศ พระเป็นเจ้าผู้มีเศียรเป็นช้าง
ผู้เป็นพระเจ้าแห่งสัญลักษณ์ของความเป็นมงคลและภูมิปัญญาและยังบูชามากที่สุดมาจวบจนถึงปัจจุบันนี้
ในเชนไน ดีปาวลีนั้นมีความสำคัญจากเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ของพระเจ้ามหิวาราผู้ได้บรรลุนิพพาน
เทศกาลดิวาลี ยังเป็นการเฉลิมฉลองเอกราช ที่ได้รับกลับมาโดยพระรามพร้อมกับนางสีดาและพระลักษณ์
จากสิบสี่ปีที่ถูกเนรเทศของเขายาวและการปราบปีศาจกษัตริย์แห่งยักษ์อสูร ทศกัณฐ์ หรือ ราวัณ (Ravana)
และการเฉลิมฉลองความสุข ของการกลับมาของกษัตริย์ของอโยธยา เมืองแห่งพระราม
ผู้เป็นสว่างแห่งอาณาจักรด้วยตะเกียงดิน Diyas (ตะเกียงน้ำมันสร้างขึ้นด้วยดินปั้น)
http://www.hindumeeting.com/forum/index.php?topic=4990.0;wap2
ตั๋วชั่วคราวระบบใหม่ ไม่มีมัดจำค่าบัตร 1 SGD
ที่ต้องเสียเวลาเสียบบัตรอีกรอบเพื่อรับมัดจำคืนขาออก
ช่วยลดความแออัดที่หน้าตู้ซื้อบัตรโดยสารอัตโนมัติ
ขึ้นสายสีแดง
ไปต่อสายสีม่วงที่สถานี Dhoby Ghaut
หรือ "ตัวเหม่ยเกอ" ที่แปลจีนเป็นไทยว่า "พี่ชายรูปหล่อ"
ไม่ลงที่สถานี Little India
แต่ไปขึ้นที่สถานี Farrer Park ซึ่งเป็นสถานีเดียวกับการจะไปกินบ๊ะกุ๊ดเต๋
ที่ร้าน Ng Ah Sio Bak Kut Teh ร้านดั้งเดิมที่ Rangoon Road
ออกทางด้านทางเข้าออก C-F ไปออกที่สี่แยก Race Cource Road ตัดกับ Birch Road
แทนการไปออกที่แยก Rangoon Road ตัดกับ Kitchener Road และ Serangoon Road (ทางออก A)
ออกทางด้านออก C ฝั่ง Birch Road ทางออกทั้งสองด้านของสถานี Ferra Park
อยู่ใกล้กับศูนย์การค้า Mustafa Center ยอดนิยมของคนไทย ถ้าออกที่สถานี Little India เดินไกล
มองไปทาง Farrer Park Station Road
บนลานว่างระหว่าง Birch Road และ Burmah Road มีการกางเต็นท์ออกร้านขายของ
เป็นตลาดนัดแขกช่วง Deepavali ข้าม Birch Road ไปฝั่ง Farrer Park Station Road
เหมือนยกตลาด Bugis มาไว้ที่นี่
ราคาเดียวทั้งร้าน
ส่วนใหญ่สีสันฉูดฉาด
ใส่เมืองไทยไม่น่าจะเหมาะ
กระเป๋าถือ
สายรัดข้อมือ
เสื้อผ้าผู้ชาย
กระเช้าของขวัญในกรงนก
วาดเฮนน่า
มีอัลบั้มให้เลือกลาย
ร้านขายของประดับบ้านในวันปีใหม่
กำยานและถ้วยตะเกียงดิน Diyas สำหรับจุดกำยาน หรือจุดเป็นตะเกียงไฟบูชาเทพเจ้า
ร้านของกินหน้าทางเข้าด้าน Serangoon Road
ร้านนี้ใหญ่ที่สุด ชื่อร้าน Mr.Vadai
เก็บภาพอาหารร้านนี้สักหน่อย
Vadai หรือ Vada เป็นของกินชุบแป้งทอด
ที่ไส้ในเป็นถั่วชนิดต่าง ๆ สาคู หรือ มันฝรั่ง บดและผสมกับผักและเครื่องปรุงรส
https://en.wikipedia.org/wiki/Vada_(food)
ทอดย่างกันอยู่ด้านหลังคนขายและข้างร้าน
นอกจากไส้ถั่วชนิดต่าง ๆ สาคูและมันฝรั่งบดแล้ว
ยังมีไส้ผักล้วนผสมพริกสำหรับนักมังสวิรัติ
ส่วนไส้เนื้อสัตว์ มี เนื้อไก่ ปู และปลา
มีทั้งแบบปั้นกลมทอด และกดเป็นแผ่นแบนทอด
คุ้กกี้อินเดียแบบมังสวิรัติ
ใส่โถพลาสติกเหมาะเป็นของขวัญ
แวะร้านขายน้ำมะพร้าวและน้ำอ้อย
น้ำอ้อยคั้นเครื่อง
มะพร้าวอ่อน น้ำเยอะแต่เปรี้ยว
ส่วนมะพร้าวต้ม ดื่มน้ำเสร็จส่งให้พ่อค้าเคาะรอบกลางลูก
ได้เป็นสองส่วนวางหงายซ้อนกัน มีช้อนพลาสติกให้ตักกินเนื้อ
พลุและดอกไม้ไฟ
ร้านคุ้กกี้อีกร้าน มีคุ้กกี้สิงคโปร์ด้วย
17.05 น. ออกจากตลาดนัดมาที่ Serangoon Road