Hillary Clinton VS Donald Trump ?
ทุกทุกสี่ปีอเมริกาจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี
โดยประชาชนสหรัฐที่มีชื่ออยู่ใน 50 รัฐ และเมืองหลวง วอชิงตัน ดีซี
ผู้ที่จะได้มาซึ่งประธานาธิบดีนั้นต้องได้คะแนนเสียงของคณะเลือกตั้ง (Electors)
มากกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด นั่นคือ 270 เสียง จาก 538 เสียง
* การเลือกครั้งนี้ประชาชนไม่ได้เลือก ประธานาธิบดีโดยตรง แต่เลือกผ่านคณะเลือกตั้ง ( Electors ) ที่ทีมผู้ชิงตำแหน่งแต่งตั้งในแต่ละรัฐ
ประชาชนในแต่ละรัฐจะโหวตในวันที่ 8 พ.ย. นี้ (+โหวตล่วงหน้าในบางที่)
เพื่อเลือก Electors ในแต่ละรัฐ นั่นหมายความว่า
สมมตินาย โอบามา โหวตให้ คลินตัน ก็หมายถึงโหวตให้ Elector ที่ ทีมคลินตันแต่งตั้งไว้ในแต่ละรัฐ(*เขต)
เพื่อไปโหวตให้คลินตันอีกทีหนึ่ง ซึ่ง electors จะ โหวต ในประมาณวันที่ 19 ธันวาคม
แล้วจะส่งผลให้ทางวอชิงตันดีซี ( ประธานวุฒิสภา - รอง ปธน) *
คณะเลือกตั้ง (Electors)ในที่นี่มีที่มาอย่างไร
ที่มาของคณะเลือกตั้งในแต่ละรัฐ มาจากจำนวน ส.ส. ซึ่งแต่ละรัฐมีไม่เท่ากันตามจำนวนประชากร
บวกกับ ส.ว. ของรัฐซึ่งทุกรัฐมี 2 เสียงเท่ากัน
ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี ทุกๆรัฐจะมีคณะเลือกตั้งไม่เท่ากัน
รัฐที่มีประชากรมากก็จะมีคณะเลือกตั้งมากกว่ารัฐที่มีประชากรน้อยกว่าเป็นต้น
เช่น รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุด มีคณะเลือกตั้ง 55 เสียง
ส่วนรัฐไวโอมิงที่มีประชากรน้อยที่สุด มีคณะเลือกตั้ง 3 เสียง
สำหรับ วอชิงตันดีซีนั่นเป็นข้อยกเว้นเพราะไม่ใช่รัฐ สามารถมีคณะเลือกตั้งได้มากที่สุดเท่ากับรัฐที่มีคณะเลือกตั้งน้อยสุด
ไม่ว่าประชากรจะมากเท่าไรก็ตาม นั่นคือ วอชิงตันดีซี มี คณะเลือกตั้งคือ 3 เสียงเท่าไวโอมิง
สำหรับการเลือกตั้ง
ทุกๆรัฐจะจัดการเลือกตั้งทั่วไปพร้อมๆกันใน วันอังคารหลังวันจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน ในทุกๆ 4 ปี
ซึ่งในปี 2016 นี้ คือ วันที่ 8 พฤศจิกายน
ตามที่เล่าไว้ตอนแรก แต่ละรัฐจะมีคะแนนคณะเลือกตั้งไม่เท่ากัน
และระบบการเลือกตั้งประธานาธิบดีนี้คือระบบ First Past the post – Winner Take all
นั่นหมายความว่าใครชนะpopular votes ในรัฐไหนก็จะได้เสียงคณะเลือกตั้งในรัฐนั้นทั้งหมด
เช่น
สมมติ คลินตัน ได้ที่1 ด้วยคะแนน 6,100,000 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 3,800,000 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
แต่ก็มีข้อยกเว้นในรัฐ เมน และ เนบราสก้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ซึ่งสองรัฐนี้จะแบ่งเป็น เขตครองเกรส ซึ่ง เมนมี 2 เขต และเนบราสก้ามี 3 เขต
ใครที่ชนะในแต่ละเขตก็จะได้เสียงคณะเลือกตั้งในเขตนั้น เขตละ 1 เสียง และเมือนำคะแนนทุกเขตมารวมก็จะกลายเป็นคะแนน
สำหรับระดับรัฐ ใครชนะส่วนนี้จะได้ คะแนนไป 2 เสียง
จากที่เล่ามาเบื้องต้น
คุณชนะแค่ 1 เสียง (ที่อาจผ่านการนับใหม่แล้ว) คุณก็ได้คะแนนคณะเลือกตั้งทั้งหมดในรัฐนั้น(*หรือเขตที่แบ่งนั้น) เท่ากันกับเมื่อคุณชนะ 1 ล้านเสียง ในรัฐนั้น(*หรือเขตที่แบ่งนั้น)เช่นกัน
ยกตัวอย่างจากข้างต้น
สมมติ คลินตัน ได้ที่ 1 ด้วยคะแนน 6,100,000 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 3,800,000 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
ที่นี้เราเปลี่ยนใหม่
สมมติ คลินตัน ได้ที่ 1 ด้วยคะแนน 4,950,500 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 4,949,500 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
จะเห็นว่า ไม่ว่าจะชนะด้วย เสียง 2,300,000 เสียง กับ 1,000 เสียงก็ได้คะแนนเลือกตั้งเท่ากัน
ทำให้เห็นว่าผู้ที่ได้รับการเลือกเป็นประธานาธิบดีสหรัฐไม่จำเป็นต้องชนะ popular votes รวมทั้งประเทศ เพียงแต่ชนะ คะแนนคณะเลือกตั้งก็ได้แล้ว
ตัวอย่างในปี 2000 ที่ จอร์ช ดับเบิลยู บุชแพ้ popular votes รวมต่อนาย อัล กอร์
50,456,002 ต่อ 50,999,897
แต่ชนะ Electoral votes(คณะเลือกตั้ง) 271 ต่อ 267(266)*
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้คณะเลือกตั้งของนายกอร์คนหนึ่งไม่ได้ไปลงคะแนนให้เขา
บุชก็เลยได้เป็นประธานาธิบดีในสมัยนั้น
ทีนี้ความสำคัญของการเลือกตั้งนี้ก็คือการชนะในแต่ละรัฐ
เพื่อหาคะแนนเสียง คณะเลือกตั้งให้ได้อย่างน้อย 270 เสียง
ทั้งสองพรรคเดโมแครตและรีพับบลิกันก็มีฐานเสียงของตัวเองอยู่ไม่เท่ากัน
ในรัฐที่คาดว่ามีฐานเสียงพรรคหนึ่งมากอยากมีนัยยะสำคัญนั้นเราจะเรียกรัฐนั้นว่า Safe State
(เพิ่มเติมถ้าเป็นฝั่ง เดโมแครต อาจเรียกได้ว่า Safe Blue State ส่วนรีพับบลิกันเรียก Safe Red State)
ซึ่งรัฐเหล่านี้ผู้สมัครชิงตำแหน่งมักจะไม่ลงไปหาเสียง ไม่ว่าจะเป็น Safe State ของฝ่ายตัวเองหรือตรงข้ามก็ตาม
แต่ผู้สมัครมักจะไปหาเสียงในรัฐ Leaning State ( รัฐที่คาดว่ามีผู้สนับสนุนพรรคหนึ่งมากกว่าอีกพรรคหนึ่งพอสมควรแต่ไม่มากถึงขั้นเป็น Safe State ซึ่งคู่แข่งหากลงทุนหาเสียงในรัฐนี้ก็ยังมีโอกาสชนะได้พอสมควร)
เพื่อจะเพิ่มความชัวร์ในการรักษาเสียงตัวเองหรือ เพิ่มโอกาสชิงเสียงจากคู่แข่ง
และ Toss-Up State ( รัฐที่คาดว่าไม่มีพรรคใดมีผู้สนับสนุนมากกว่าอีกพรรคหนึ่งอย่างมีนัยยะสำคัญ)
ซึ่ง Toss-up state นี้เป็นที่ที่ผู้ชิงตำแหน่งมักไปหาเสียงมากที่สุด
เราสามารถเรียกรวม Leaning state และ Toss-up State ว่า Competitive State
***มีเขตแบ่งด้วยตามข้างต้น
รูปประกอบ * ณ วันที่ 2 พ.ย.
น้ำเงิน Safe Democrat
ฟ้า Lean Democrat
น้ำตาลอ่อน Toss-up
ชมพู Lean Republican
แดง Safe Republican
จะเห็นว่าคลินตันนำทรัมป์ ในส่วนของ Safe State อยู่ 190 ต่อ 163
และเธอนำเมื่อนับ Leaning State(and District) อยู่ 272-180
272 นั่นหมายความว่าถ้าเธอชนะใน Safe States และ Leaning States ทั้งหมดเธอก็จะชนะเลือกตั้งครั้งนี้โดยปริยาย
สำหรับทรัมป์ถ้าเขาจะชนะ เขาต้องคว่าชัยใน Toss-up state and district
แต่ Leaning State อาจไม่ให้ผลแบบที่โพลสำรวจไว้ก็ได้ และจากเทรนด์ในตอนนี้ (วันที่ 2 พ.ย. 2016) พบว่าทรัมป์เริ่มมีคะแนนตีตื้นมา
ดังนั้น Leaning State Toss-up state (และอาจรวมถึง Safe State บางรัฐ) อาจเปลี่ยนเป็น ไป ก็ได้ ส่วนผลการเลือกตั้งครั้งนี้ถ้าอยากจะรู้คงต้องติดตามเรื่อยจนถึงวันเลือกตั้งจริง
เพราะทั้งคู่ก็มีเรื่องที่ทำให้เสียคะแนนและได้คะแนนต่างกันไป รวมทั้งการหาเสียงในแต่ละรัฐด้วย
เช่นคลินตั้น เรื่องการสืบสวนของ FBI(ตามที่สื่อเขาว่า) ฯลฯ
และทรัมป์ เรื่อง ภาษีและการดูถูกคน(ตามที่สื่อเขาว่า) ฯลฯ
โอกาสชนะในตอนนี้ คลินตัน 70% ทรัมป์ 30% ครับ ( 2 พย. )
****
อัพเดตครับ วัน ที่ 4 พ.ย
-------------------------------------------------------------------------------------------
ตามโพลที่เข้ามาเรื่อย
ทำให้เราต้องเปลี่ยนแผนที่ใหม่
จาก Safe + Lean คลินตัน 272 - 180 ทรัมป์ เป็น คลินตัน 268 - 197 ทรัมป์
โพลที่ออกมาใหม่ ทำให้เราเอา รัฐ นิวแฮมเชียร์ (4โหวต) ออกจาก Lean คลินตัน เปลี่ยนเป็น Toss-up
โพลๆใหม่ +ค่าเฉลี่ย พบว่าเธอยังนำอยู่เล็กน้อยในรัฐนี้
กลับกัน ใน ไอโอว่า (6โหวต) และ แอริโซน่า (11 โหวต)
โพลที่ออกมาใหม่ทำให้เห็นว่าทรัมป์เริ่มนำอย่างมีนัยยะสำคัญมากขึ้น
จึงเปลี่ยน สองรัฐนี้จาก Toss-up เป็น Lean ทรัมป์ ครับ
538 สรุปโอกาสชนะใหม่ เป็น คลินตัน 65 % ทรัมป์ 35 % ครับ
-----------------------------------------------------------------------------
*** อัพเดตวันที่ 4 พ.ย. เหลืออีก 4 วัน
ขอบคุณที่อ่านนะครับ หัดเขียน Article ครั้งแรกๆ
มีอะไรแนะนำการเขียนด้วยนะครับ
REF:
http://www.270towin.com
http://fivethirtyeight.com/
* แก้โพล + เรื่อง ประชาชนเลือก Electors
* อัพเดต วันที่ 4 พ.ย.
เลือกตั้งสหรัฐ US Election 2016
ทุกทุกสี่ปีอเมริกาจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี
โดยประชาชนสหรัฐที่มีชื่ออยู่ใน 50 รัฐ และเมืองหลวง วอชิงตัน ดีซี
ผู้ที่จะได้มาซึ่งประธานาธิบดีนั้นต้องได้คะแนนเสียงของคณะเลือกตั้ง (Electors)
มากกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งหมด นั่นคือ 270 เสียง จาก 538 เสียง
* การเลือกครั้งนี้ประชาชนไม่ได้เลือก ประธานาธิบดีโดยตรง แต่เลือกผ่านคณะเลือกตั้ง ( Electors ) ที่ทีมผู้ชิงตำแหน่งแต่งตั้งในแต่ละรัฐ
ประชาชนในแต่ละรัฐจะโหวตในวันที่ 8 พ.ย. นี้ (+โหวตล่วงหน้าในบางที่)
เพื่อเลือก Electors ในแต่ละรัฐ นั่นหมายความว่า
สมมตินาย โอบามา โหวตให้ คลินตัน ก็หมายถึงโหวตให้ Elector ที่ ทีมคลินตันแต่งตั้งไว้ในแต่ละรัฐ(*เขต)
เพื่อไปโหวตให้คลินตันอีกทีหนึ่ง ซึ่ง electors จะ โหวต ในประมาณวันที่ 19 ธันวาคม
แล้วจะส่งผลให้ทางวอชิงตันดีซี ( ประธานวุฒิสภา - รอง ปธน) *
คณะเลือกตั้ง (Electors)ในที่นี่มีที่มาอย่างไร
ที่มาของคณะเลือกตั้งในแต่ละรัฐ มาจากจำนวน ส.ส. ซึ่งแต่ละรัฐมีไม่เท่ากันตามจำนวนประชากร
บวกกับ ส.ว. ของรัฐซึ่งทุกรัฐมี 2 เสียงเท่ากัน
ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี ทุกๆรัฐจะมีคณะเลือกตั้งไม่เท่ากัน
รัฐที่มีประชากรมากก็จะมีคณะเลือกตั้งมากกว่ารัฐที่มีประชากรน้อยกว่าเป็นต้น
เช่น รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุด มีคณะเลือกตั้ง 55 เสียง
ส่วนรัฐไวโอมิงที่มีประชากรน้อยที่สุด มีคณะเลือกตั้ง 3 เสียง
สำหรับ วอชิงตันดีซีนั่นเป็นข้อยกเว้นเพราะไม่ใช่รัฐ สามารถมีคณะเลือกตั้งได้มากที่สุดเท่ากับรัฐที่มีคณะเลือกตั้งน้อยสุด
ไม่ว่าประชากรจะมากเท่าไรก็ตาม นั่นคือ วอชิงตันดีซี มี คณะเลือกตั้งคือ 3 เสียงเท่าไวโอมิง
สำหรับการเลือกตั้ง
ทุกๆรัฐจะจัดการเลือกตั้งทั่วไปพร้อมๆกันใน วันอังคารหลังวันจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน ในทุกๆ 4 ปี
ซึ่งในปี 2016 นี้ คือ วันที่ 8 พฤศจิกายน
ตามที่เล่าไว้ตอนแรก แต่ละรัฐจะมีคะแนนคณะเลือกตั้งไม่เท่ากัน
และระบบการเลือกตั้งประธานาธิบดีนี้คือระบบ First Past the post – Winner Take all
นั่นหมายความว่าใครชนะpopular votes ในรัฐไหนก็จะได้เสียงคณะเลือกตั้งในรัฐนั้นทั้งหมด
เช่น
สมมติ คลินตัน ได้ที่1 ด้วยคะแนน 6,100,000 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 3,800,000 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
แต่ก็มีข้อยกเว้นในรัฐ เมน และ เนบราสก้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จากที่เล่ามาเบื้องต้น
คุณชนะแค่ 1 เสียง (ที่อาจผ่านการนับใหม่แล้ว) คุณก็ได้คะแนนคณะเลือกตั้งทั้งหมดในรัฐนั้น(*หรือเขตที่แบ่งนั้น) เท่ากันกับเมื่อคุณชนะ 1 ล้านเสียง ในรัฐนั้น(*หรือเขตที่แบ่งนั้น)เช่นกัน
ยกตัวอย่างจากข้างต้น
สมมติ คลินตัน ได้ที่ 1 ด้วยคะแนน 6,100,000 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 3,800,000 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
ที่นี้เราเปลี่ยนใหม่
สมมติ คลินตัน ได้ที่ 1 ด้วยคะแนน 4,950,500 เสียง แคลิฟอเนีย ส่วนทรัมป์ได้ 4,949,500 เสียง คลินตันก็จะได้คะแนน
คณะเลือกตั้งจากแคลิฟอเนีย 55 เสียง ทรัมป์ได้ 0 เสียง
จะเห็นว่า ไม่ว่าจะชนะด้วย เสียง 2,300,000 เสียง กับ 1,000 เสียงก็ได้คะแนนเลือกตั้งเท่ากัน
ทำให้เห็นว่าผู้ที่ได้รับการเลือกเป็นประธานาธิบดีสหรัฐไม่จำเป็นต้องชนะ popular votes รวมทั้งประเทศ เพียงแต่ชนะ คะแนนคณะเลือกตั้งก็ได้แล้ว
ตัวอย่างในปี 2000 ที่ จอร์ช ดับเบิลยู บุชแพ้ popular votes รวมต่อนาย อัล กอร์
50,456,002 ต่อ 50,999,897
แต่ชนะ Electoral votes(คณะเลือกตั้ง) 271 ต่อ 267(266)*[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
บุชก็เลยได้เป็นประธานาธิบดีในสมัยนั้น
ทีนี้ความสำคัญของการเลือกตั้งนี้ก็คือการชนะในแต่ละรัฐ
เพื่อหาคะแนนเสียง คณะเลือกตั้งให้ได้อย่างน้อย 270 เสียง
ทั้งสองพรรคเดโมแครตและรีพับบลิกันก็มีฐานเสียงของตัวเองอยู่ไม่เท่ากัน
ในรัฐที่คาดว่ามีฐานเสียงพรรคหนึ่งมากอยากมีนัยยะสำคัญนั้นเราจะเรียกรัฐนั้นว่า Safe State
(เพิ่มเติมถ้าเป็นฝั่ง เดโมแครต อาจเรียกได้ว่า Safe Blue State ส่วนรีพับบลิกันเรียก Safe Red State)
ซึ่งรัฐเหล่านี้ผู้สมัครชิงตำแหน่งมักจะไม่ลงไปหาเสียง ไม่ว่าจะเป็น Safe State ของฝ่ายตัวเองหรือตรงข้ามก็ตาม
แต่ผู้สมัครมักจะไปหาเสียงในรัฐ Leaning State ( รัฐที่คาดว่ามีผู้สนับสนุนพรรคหนึ่งมากกว่าอีกพรรคหนึ่งพอสมควรแต่ไม่มากถึงขั้นเป็น Safe State ซึ่งคู่แข่งหากลงทุนหาเสียงในรัฐนี้ก็ยังมีโอกาสชนะได้พอสมควร)
เพื่อจะเพิ่มความชัวร์ในการรักษาเสียงตัวเองหรือ เพิ่มโอกาสชิงเสียงจากคู่แข่ง
และ Toss-Up State ( รัฐที่คาดว่าไม่มีพรรคใดมีผู้สนับสนุนมากกว่าอีกพรรคหนึ่งอย่างมีนัยยะสำคัญ)
ซึ่ง Toss-up state นี้เป็นที่ที่ผู้ชิงตำแหน่งมักไปหาเสียงมากที่สุด
เราสามารถเรียกรวม Leaning state และ Toss-up State ว่า Competitive State
***มีเขตแบ่งด้วยตามข้างต้น
รูปประกอบ * ณ วันที่ 2 พ.ย.
น้ำเงิน Safe Democrat
ฟ้า Lean Democrat
น้ำตาลอ่อน Toss-up
ชมพู Lean Republican
แดง Safe Republican
จะเห็นว่าคลินตันนำทรัมป์ ในส่วนของ Safe State อยู่ 190 ต่อ 163
และเธอนำเมื่อนับ Leaning State(and District) อยู่ 272-180
272 นั่นหมายความว่าถ้าเธอชนะใน Safe States และ Leaning States ทั้งหมดเธอก็จะชนะเลือกตั้งครั้งนี้โดยปริยาย
สำหรับทรัมป์ถ้าเขาจะชนะ เขาต้องคว่าชัยใน Toss-up state and district
แต่ Leaning State อาจไม่ให้ผลแบบที่โพลสำรวจไว้ก็ได้ และจากเทรนด์ในตอนนี้ (วันที่ 2 พ.ย. 2016) พบว่าทรัมป์เริ่มมีคะแนนตีตื้นมา
ดังนั้น Leaning State Toss-up state (และอาจรวมถึง Safe State บางรัฐ) อาจเปลี่ยนเป็น ไป ก็ได้ ส่วนผลการเลือกตั้งครั้งนี้ถ้าอยากจะรู้คงต้องติดตามเรื่อยจนถึงวันเลือกตั้งจริง
เพราะทั้งคู่ก็มีเรื่องที่ทำให้เสียคะแนนและได้คะแนนต่างกันไป รวมทั้งการหาเสียงในแต่ละรัฐด้วย
เช่นคลินตั้น เรื่องการสืบสวนของ FBI(ตามที่สื่อเขาว่า) ฯลฯ
และทรัมป์ เรื่อง ภาษีและการดูถูกคน(ตามที่สื่อเขาว่า) ฯลฯ
โอกาสชนะในตอนนี้ คลินตัน 70% ทรัมป์ 30% ครับ ( 2 พย. )
****
อัพเดตครับ วัน ที่ 4 พ.ย
-------------------------------------------------------------------------------------------
ตามโพลที่เข้ามาเรื่อย
ทำให้เราต้องเปลี่ยนแผนที่ใหม่
จาก Safe + Lean คลินตัน 272 - 180 ทรัมป์ เป็น คลินตัน 268 - 197 ทรัมป์
โพลที่ออกมาใหม่ ทำให้เราเอา รัฐ นิวแฮมเชียร์ (4โหวต) ออกจาก Lean คลินตัน เปลี่ยนเป็น Toss-up
โพลๆใหม่ +ค่าเฉลี่ย พบว่าเธอยังนำอยู่เล็กน้อยในรัฐนี้
กลับกัน ใน ไอโอว่า (6โหวต) และ แอริโซน่า (11 โหวต)
โพลที่ออกมาใหม่ทำให้เห็นว่าทรัมป์เริ่มนำอย่างมีนัยยะสำคัญมากขึ้น
จึงเปลี่ยน สองรัฐนี้จาก Toss-up เป็น Lean ทรัมป์ ครับ
538 สรุปโอกาสชนะใหม่ เป็น คลินตัน 65 % ทรัมป์ 35 % ครับ
-----------------------------------------------------------------------------
*** อัพเดตวันที่ 4 พ.ย. เหลืออีก 4 วัน
ขอบคุณที่อ่านนะครับ หัดเขียน Article ครั้งแรกๆ
มีอะไรแนะนำการเขียนด้วยนะครับ
REF: http://www.270towin.com
http://fivethirtyeight.com/
* แก้โพล + เรื่อง ประชาชนเลือก Electors
* อัพเดต วันที่ 4 พ.ย.