เทคนิคคร่าวๆ listening part ไปสอบมาเมื่อเดือนสิงหา
มันมีเทคนิคหลากหลายที่เค้าแนะนำกันมา ซึ่งก็ใช้ได้ (เขียนลงไปในบทความเลย ไม่ได้แยกชัดเจน) แต่ตอนผมสอบแบบไม่รู้เทคนิคอะไร ประมาณสอบครั้งแรก อ่านข้อผิดอีก พาร์ท 3 4 มันเรียงบนลงล่าง ดันไปอ่านด้านขวา 55 ก็ได้ฟัง 400 นะ เพราะพอฟังออก เพราะฉะนั้น เทคนิคอะไรนี่มันแค่ส่วนเสริม อยู่ที่การฝึกฝน การฝึกฟังนี่ง่ายกว่าอ่าน ฟังเยอะๆ เดี๋ยวดีเอง
เทคนิค
part 1
ศัพท์ทั่วไปไม่ยาก ดูรูปนึกศัพท์ไป คือ ต้องฝึกฟังและรู้ศัพท์ ซึ่งส่วนมากง่ายๆ เช่น standing, holding, looking at, walking (พวกนี้คือคำตอบ ซึ่งไม่ยาก ไอ้ที่ไม่ใช่คำตอบ บางอันก็ยาก บางทีฟังไม่ออกก็ยังตอบข้อถูกได้) ถ้าฟังได้ 3 ข้อขึ้นไปก็จะพิจารณาได้ว่าข้อไหนถูก
ข้อยากๆ เช่น cast shadow แปลว่า ทำให้เกิดเงา ในภาพมีบันไดวาง แสงแดดส่องเกิดเงาข้างล่าง
มีคำว่า ladder (บันได) สองข้อ ต้องเลือกข้อ cast shadow
เทคนิคที่ว่า ให้นึกคำศัพท์ในรูปภาพก่อนที่ข้อสอบจะพูด ช่วยได้มาก และถ้าในตัวเลือกมีกล่าวถึงสิ่งของที่ไม่ได้อยู่ในภาพแน่ๆ ตัดทิ้งเลย อันนี้ก็ใช้ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วจะอยู่ที่การฟังคำนามและคำกริยา อยู่ที่การฝึกฝน คำศัพท์ในพาร์ท 1 จะยากไม่เกิน 2-3 ข้อ บางทีข้อที่เป็นคำตอบอาจจะยาก แต่อีกสามข้อไม่ยาก ก็สามารถตัด 3 ชอยส์ได้
part 2
เทคนิคที่ว่า
when ตอบเวลา /who ตอบคน /where ตอบสถานที่
ก็ยังใช้ได้อยู่ ถึงแม้มีไม่เยอะ when มีอยู่ 2 ข้อ ข้อแรกๆเลย who มีอยู่ 2 ข้อ where มีอยู่ 2 ข้อ
ข้อ who จะมีหลอกหน่อย มีคนให้เลือก 2 ชอยส์
ตัวนี้ต้องฟังให้ออกว่า v ทำอะไร ซึ่งมีหลายครั้งที่ (เป็นเทคนิคอีกอัน) ในคำถามเป็น v แบบ simple tense เช่น takes, took คำตอบ เป็น do does did แทน v ในคำถามได้
เช่น
1.Who takes the bus?
A Mrs. Jones does.
B I am worrying.
C No, thank you.
ต้องตอบ A คำว่า does แทน takes
ข้อนี้ ข้อ B C ค่อนข้างง่าย เพราะเป็น v to be กับ yes, no สามารถตัดทิ้งได้เลย
ถ้าจะตอบ v to be คำถามก็ต้องเป็น v to be
และ (อีกเทคนิคในการตัดชอยส์) คำถามพวก question words – what, where, when, why, which, how, who ต้องการให้ตอบแบบเจาะจง ใคร ที่ไหน อะไร อย่างไร ห้ามตอบ yes, no เพราะฉะนั้นเจอคำถามพวกนี้ ตัด yes, no ทิ้ง ในข้อสอบหลายชุด สามารถตัดชอยส์นี้ทิ้งให้เหลือสองชอยส์ได้หลายข้อทีเดียว
ข้อที่ยากๆ ประโยคบอกเล่า
เทคนิคที่ว่า คำที่อยู่ในประโยคคำถาม แล้วไปปรากฏในคำตอบด้วย มักจะผิด เป็นเทคนิคที่ใช้ได้
ตัวอย่าง You worked for him, didn’t you? คุณทำงานให้กับเค้าใช่มั้ย (ในอดีต)
A I ate it yesterday. ฉันกินเมื่อวาน
B It’s not working. มันไม่ทำงาน (อาจจะเป็นเครื่องจักรเสีย หรือแผนการจีบสาวใช้ไม่ได้)
C No, I don’t even know him. ไม่ ชั้นไม่แม้แต่รู้จักเค้า
ข้อนี้ ข้อ B เป็นคำตอบที่ไม่ถูกต้อง ใช้คำว่า work เหมือนกัน เอามาหลอก
ข้อนี้ที่เป็น question tag (do you? don’t you? have you? haven’t you? are you? aren’t you? ฯลฯ พวกคำถามที่พูดเป็นบอกเล่ามา แล้วถามตอนท้าย ว่า “ใช่มั้ย”)
จะตอบ yes, no แบบข้อ c ก็ได้ ตอบเป็นบอกเล่าก็ได้ ตอบกลับมาเป็นคำถามก็ได้ เพราะฉะนั้น ค่อนข้างยาก หลายๆข้อ ตอบแปลกๆต้องแปลได้ เทคนิคที่ช่วยได้ส่วนหนึ่งคือ ตัดชอยส์บางส่วนที่คำคล้ายๆกัน ถ้าฟังไม่ออก
ตัวอย่างเพิ่ม โจทย์ Let’s take a break (พักกันเถอะ)
คำตอบที่ตัดทิ้ง I break it. (ชั้นทำมันแตก)
break คนละความหมาย
เพิ่มเติม
- คำถามพวก why ถามสาเหตุ เท่าที่ฟังมา จะตอบเป็นประโยค พวกตัวเลือกที่ไม่ครบประโยค (ไม่มี v) ตัดทิ้งไป
- สังเกตประธานของประโยคคำถาม (บางส่วน) ถ้าเป็นสิ่งของ ประธานของคำตอบก็อาจเป็น it แทนสิ่งของ ถาม she ตอบ she ตาม you ตอบ I (ไม่เสมอไป ช่วยได้นิดหน่อย)
- how long does it take ระยะเวลา ห้ามไปตอบ last week, last month
par 2 มีตัวเลือกแค่ 3 ข้อ ตัดชอยส์ไปช่วยเพิ่มโอกาสพอสมควร แต่ต้องฝึกให้ฟังออก เทคนิคเป็นส่วนเสริม
Part 3 และ 4
ฟังข้อความและตอบคำถาม ทีละ 3 ข้อ
part 3 สองคนคุยกัน (conversation) part 4 พูดคนเดียว (talk)
สำคัญที่สุดคือต้องอ่านโจทย์ให้ทันก่อนที่มันจะเริ่มพูด จะได้จับประเด็นได้ว่า จะถามอะไร
รายละเอียดเรื่องนี้
-บางคนจะขีดคำถามคำตอบ บางคนขีดคำตอบ เป็นจุดสนใจรวมสมาธิว่ามันถามอะไร
-บางคนจะเขียนคำแปลสั้นๆ แปลแล้วมันเข้าใจมากกว่า ว่ามันถามอะไร
-บางคนอ่านอย่างเดียว
ก็ใช้ได้ทั้งหมด อยู่ที่ความถนัด ประเด็นคืออ่านให้ทัน และตอนที่มันเริ่มพูด เน้นสมาธิที่การฟัง อย่ามัวแต่อ่านอยู่ ซึ่งจะเป็นปัญหาอ่านไม่ทัน ทำไงดี
ตรงนี้ ต้องแจ้งให้ทราบว่า สามารถเขียนอะไรลงไปในข้อสอบก็ได้ หลังจากฟังแล้วจะมีทั้งคนที่ขีดคำตอบลงไป หรือขีดหลังจากฟัง ตรงนี้อาจไประบายคำตอบในกระดาษคำตอบเลย แต่สำหรับคนอ่านไม่ทัน ซึ่งรอบนี้ ผมก็อ่านไม่ทัน เลยขีด a b c d ในข้อสอบ ยังไม่ไประบายกระดาษคำตอบหลายข้อมาก ถ้าไประบาย ไม่ทันแน่ๆ เว้นให้ดี ช่วงไหนทันก็ระบาย ช่วงไหนไม่ทันก็เว้นไว้ ระวังอย่าระบายผิด หลังจบข้อ 100 มาระบายประมาณเกือบ 20 ข้อ ใช้เวลาแป๊บเดียว เพราะฉะนั้นคุ้มค่าแน่นอน ถ้าอ่านตัวเลือกไม่ทัน อย่างน้อยอ่านโจทย์ให้ทัน
ถ้าฟังไม่ออกเลย ฝึกต่อไป ถ้าพอฟังออก แล้วพอจะรู้ว่าพูดเรื่องอะไร
- เทคนิคที่ว่า ดูว่าคำถาม ถามว่า man หรือ woman พูดอะไร ก็เน้นไปที่ฟังผู้ชายหรือผู้หญิงพูด ใช้ได้ ช่วยให้โฟกัสได้ดีขึ้น
- ถ้าพอฟังเนื้อเรื่องออก ตอบคำถามได้ 2 ข้อ บางบทพูดสามารถอ่านโจทย์ที่ฟังไม่ทันแล้วนึกถึงความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง บางอันจะสามารถตอบได้ เช่น คำถามที่ว่า ผู้ชายต้องการอะไร คำตอบ ผู้ชายต้องการซื้อตั๋ว อีกคำถาม ถามว่า ผู้หญิงทำงานอะไร ตอบ คนขายตั๋ว เป็นต้น แต่หลายๆข้อก็ชอยส์หลอก แต่ยังไงก็เพิ่มโอกาสถูก
- คำถามเกิน 90% เรียงข้อ ช่วยให้เราโฟกัสได้ว่าถึงข้อไหนแล้ว
ข้อสอบฟัง ส่วนมากอยู่ที่การฝึกฝน ไม่ได้ยากมาก ฟังบ่อยๆ ทำแบบฝึกหัดให้มาก จะได้รู้ว่า มันถามแบบไหน หลังจากทำแบบฝึกหัดฟังแล้ว เอามาฟังซ้ำ ตรงไหนไม่เข้าใจอ่านสคริปต์ แปลไม่ได้เปิดดิกชันนารี ต้องขยันหน่อย แต่ส่วนมากศัพท์ไม่ยาก และคำถามไม่ได้เน้นลึก แค่รู้เนื้อเรื่องคร่าวๆก็ตอบคำถามได้แล้ว
โดยส่วนตัวต้องเปิดให้คนอื่นฟังก็ฝึกฟังไปด้วย ขยับปากพูดตามเบาๆ การพูดตามช่วยในเรื่องการฟัง ว่าเราเข้าใจจริงๆ ฝึกแบบฝึกหัด ของ ets, oxford ถ้ามีสิบชุด ฝึกเป็นช่วงๆ อาจจะทีละสองชุด ทำแบบฝึกหัด แล้วฟังซ้ำ อีกอาทิตย์ฟังสองชุดต่อไป ประเมินว่าคะแนนและความเข้าใจ พัฒนาการเพิ่มขึ้นขนาดไหน ถ้ายังไม่พัฒนากลับมาฟังซ้ำ อ่านสคริปต์ชุดเก่า จนคะแนนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชุด 7-8 ควรดีขึ้นจากชุดแรกพอควร
สำหรับแบบฝึกหัด ดูจากในลิงค์ หรือโหลดจากแบบฝึกหัด ets ค้นหา ets toeic lc rc ในกูเกิ้ล
https://www.youtube.com/watch?v=t6BLT37JkEQ&list=PLM8ZWCINBi2SHCou7pWpSdL-xacwPKdzo
ส่วนการฟังได้คร่าวๆประมาณนี้
ส่วนอ่านยังไม่ทันเขียนเลย สอบมานานแล้ว
ขอเวลาแป๊บ
สำหรับใครต้องการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติม ติดตามได้ที่เพจ
https://www.facebook.com/toeicsongedu/
มีข้อสอบของเกาหลีที่เปลี่ยนไปแล้ว กำลังโพส ไม่รู้ไทยเปลี่ยนปีหน้ามั้ย
เดี๋ยวมีฟังด้วย พูดกันสองสามคน ฟังดูแล้วก็ไม่ยาก
ก็อย่าท้อกัน บางคนอ่านยังไม่ได้สามร้อย ฟังเต็ม เพราะฟังง่ายกว่าอ่าน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ฝากคะแนนไว้นิดนึง หาสองอันล่าสุดไม่เจอ =__=
ไม่ได้ฟังเก่ง แต่ใช้สมาธิ
คะแนนขึ้นๆ ลงๆ อย่าสนใจ ไปจำข้อสอบเฉยๆ
TOEIC ส่วนการฟัง แชร์เทคนิค
มันมีเทคนิคหลากหลายที่เค้าแนะนำกันมา ซึ่งก็ใช้ได้ (เขียนลงไปในบทความเลย ไม่ได้แยกชัดเจน) แต่ตอนผมสอบแบบไม่รู้เทคนิคอะไร ประมาณสอบครั้งแรก อ่านข้อผิดอีก พาร์ท 3 4 มันเรียงบนลงล่าง ดันไปอ่านด้านขวา 55 ก็ได้ฟัง 400 นะ เพราะพอฟังออก เพราะฉะนั้น เทคนิคอะไรนี่มันแค่ส่วนเสริม อยู่ที่การฝึกฝน การฝึกฟังนี่ง่ายกว่าอ่าน ฟังเยอะๆ เดี๋ยวดีเอง
เทคนิค
part 1
ศัพท์ทั่วไปไม่ยาก ดูรูปนึกศัพท์ไป คือ ต้องฝึกฟังและรู้ศัพท์ ซึ่งส่วนมากง่ายๆ เช่น standing, holding, looking at, walking (พวกนี้คือคำตอบ ซึ่งไม่ยาก ไอ้ที่ไม่ใช่คำตอบ บางอันก็ยาก บางทีฟังไม่ออกก็ยังตอบข้อถูกได้) ถ้าฟังได้ 3 ข้อขึ้นไปก็จะพิจารณาได้ว่าข้อไหนถูก
ข้อยากๆ เช่น cast shadow แปลว่า ทำให้เกิดเงา ในภาพมีบันไดวาง แสงแดดส่องเกิดเงาข้างล่าง
มีคำว่า ladder (บันได) สองข้อ ต้องเลือกข้อ cast shadow
เทคนิคที่ว่า ให้นึกคำศัพท์ในรูปภาพก่อนที่ข้อสอบจะพูด ช่วยได้มาก และถ้าในตัวเลือกมีกล่าวถึงสิ่งของที่ไม่ได้อยู่ในภาพแน่ๆ ตัดทิ้งเลย อันนี้ก็ใช้ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วจะอยู่ที่การฟังคำนามและคำกริยา อยู่ที่การฝึกฝน คำศัพท์ในพาร์ท 1 จะยากไม่เกิน 2-3 ข้อ บางทีข้อที่เป็นคำตอบอาจจะยาก แต่อีกสามข้อไม่ยาก ก็สามารถตัด 3 ชอยส์ได้
part 2
เทคนิคที่ว่า
when ตอบเวลา /who ตอบคน /where ตอบสถานที่
ก็ยังใช้ได้อยู่ ถึงแม้มีไม่เยอะ when มีอยู่ 2 ข้อ ข้อแรกๆเลย who มีอยู่ 2 ข้อ where มีอยู่ 2 ข้อ
ข้อ who จะมีหลอกหน่อย มีคนให้เลือก 2 ชอยส์
ตัวนี้ต้องฟังให้ออกว่า v ทำอะไร ซึ่งมีหลายครั้งที่ (เป็นเทคนิคอีกอัน) ในคำถามเป็น v แบบ simple tense เช่น takes, took คำตอบ เป็น do does did แทน v ในคำถามได้
เช่น
1.Who takes the bus?
A Mrs. Jones does.
B I am worrying.
C No, thank you.
ต้องตอบ A คำว่า does แทน takes
ข้อนี้ ข้อ B C ค่อนข้างง่าย เพราะเป็น v to be กับ yes, no สามารถตัดทิ้งได้เลย
ถ้าจะตอบ v to be คำถามก็ต้องเป็น v to be
และ (อีกเทคนิคในการตัดชอยส์) คำถามพวก question words – what, where, when, why, which, how, who ต้องการให้ตอบแบบเจาะจง ใคร ที่ไหน อะไร อย่างไร ห้ามตอบ yes, no เพราะฉะนั้นเจอคำถามพวกนี้ ตัด yes, no ทิ้ง ในข้อสอบหลายชุด สามารถตัดชอยส์นี้ทิ้งให้เหลือสองชอยส์ได้หลายข้อทีเดียว
ข้อที่ยากๆ ประโยคบอกเล่า
เทคนิคที่ว่า คำที่อยู่ในประโยคคำถาม แล้วไปปรากฏในคำตอบด้วย มักจะผิด เป็นเทคนิคที่ใช้ได้
ตัวอย่าง You worked for him, didn’t you? คุณทำงานให้กับเค้าใช่มั้ย (ในอดีต)
A I ate it yesterday. ฉันกินเมื่อวาน
B It’s not working. มันไม่ทำงาน (อาจจะเป็นเครื่องจักรเสีย หรือแผนการจีบสาวใช้ไม่ได้)
C No, I don’t even know him. ไม่ ชั้นไม่แม้แต่รู้จักเค้า
ข้อนี้ ข้อ B เป็นคำตอบที่ไม่ถูกต้อง ใช้คำว่า work เหมือนกัน เอามาหลอก
ข้อนี้ที่เป็น question tag (do you? don’t you? have you? haven’t you? are you? aren’t you? ฯลฯ พวกคำถามที่พูดเป็นบอกเล่ามา แล้วถามตอนท้าย ว่า “ใช่มั้ย”)
จะตอบ yes, no แบบข้อ c ก็ได้ ตอบเป็นบอกเล่าก็ได้ ตอบกลับมาเป็นคำถามก็ได้ เพราะฉะนั้น ค่อนข้างยาก หลายๆข้อ ตอบแปลกๆต้องแปลได้ เทคนิคที่ช่วยได้ส่วนหนึ่งคือ ตัดชอยส์บางส่วนที่คำคล้ายๆกัน ถ้าฟังไม่ออก
ตัวอย่างเพิ่ม โจทย์ Let’s take a break (พักกันเถอะ)
คำตอบที่ตัดทิ้ง I break it. (ชั้นทำมันแตก)
break คนละความหมาย
เพิ่มเติม
- คำถามพวก why ถามสาเหตุ เท่าที่ฟังมา จะตอบเป็นประโยค พวกตัวเลือกที่ไม่ครบประโยค (ไม่มี v) ตัดทิ้งไป
- สังเกตประธานของประโยคคำถาม (บางส่วน) ถ้าเป็นสิ่งของ ประธานของคำตอบก็อาจเป็น it แทนสิ่งของ ถาม she ตอบ she ตาม you ตอบ I (ไม่เสมอไป ช่วยได้นิดหน่อย)
- how long does it take ระยะเวลา ห้ามไปตอบ last week, last month
par 2 มีตัวเลือกแค่ 3 ข้อ ตัดชอยส์ไปช่วยเพิ่มโอกาสพอสมควร แต่ต้องฝึกให้ฟังออก เทคนิคเป็นส่วนเสริม
Part 3 และ 4
ฟังข้อความและตอบคำถาม ทีละ 3 ข้อ
part 3 สองคนคุยกัน (conversation) part 4 พูดคนเดียว (talk)
สำคัญที่สุดคือต้องอ่านโจทย์ให้ทันก่อนที่มันจะเริ่มพูด จะได้จับประเด็นได้ว่า จะถามอะไร
รายละเอียดเรื่องนี้
-บางคนจะขีดคำถามคำตอบ บางคนขีดคำตอบ เป็นจุดสนใจรวมสมาธิว่ามันถามอะไร
-บางคนจะเขียนคำแปลสั้นๆ แปลแล้วมันเข้าใจมากกว่า ว่ามันถามอะไร
-บางคนอ่านอย่างเดียว
ก็ใช้ได้ทั้งหมด อยู่ที่ความถนัด ประเด็นคืออ่านให้ทัน และตอนที่มันเริ่มพูด เน้นสมาธิที่การฟัง อย่ามัวแต่อ่านอยู่ ซึ่งจะเป็นปัญหาอ่านไม่ทัน ทำไงดี
ตรงนี้ ต้องแจ้งให้ทราบว่า สามารถเขียนอะไรลงไปในข้อสอบก็ได้ หลังจากฟังแล้วจะมีทั้งคนที่ขีดคำตอบลงไป หรือขีดหลังจากฟัง ตรงนี้อาจไประบายคำตอบในกระดาษคำตอบเลย แต่สำหรับคนอ่านไม่ทัน ซึ่งรอบนี้ ผมก็อ่านไม่ทัน เลยขีด a b c d ในข้อสอบ ยังไม่ไประบายกระดาษคำตอบหลายข้อมาก ถ้าไประบาย ไม่ทันแน่ๆ เว้นให้ดี ช่วงไหนทันก็ระบาย ช่วงไหนไม่ทันก็เว้นไว้ ระวังอย่าระบายผิด หลังจบข้อ 100 มาระบายประมาณเกือบ 20 ข้อ ใช้เวลาแป๊บเดียว เพราะฉะนั้นคุ้มค่าแน่นอน ถ้าอ่านตัวเลือกไม่ทัน อย่างน้อยอ่านโจทย์ให้ทัน
ถ้าฟังไม่ออกเลย ฝึกต่อไป ถ้าพอฟังออก แล้วพอจะรู้ว่าพูดเรื่องอะไร
- เทคนิคที่ว่า ดูว่าคำถาม ถามว่า man หรือ woman พูดอะไร ก็เน้นไปที่ฟังผู้ชายหรือผู้หญิงพูด ใช้ได้ ช่วยให้โฟกัสได้ดีขึ้น
- ถ้าพอฟังเนื้อเรื่องออก ตอบคำถามได้ 2 ข้อ บางบทพูดสามารถอ่านโจทย์ที่ฟังไม่ทันแล้วนึกถึงความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง บางอันจะสามารถตอบได้ เช่น คำถามที่ว่า ผู้ชายต้องการอะไร คำตอบ ผู้ชายต้องการซื้อตั๋ว อีกคำถาม ถามว่า ผู้หญิงทำงานอะไร ตอบ คนขายตั๋ว เป็นต้น แต่หลายๆข้อก็ชอยส์หลอก แต่ยังไงก็เพิ่มโอกาสถูก
- คำถามเกิน 90% เรียงข้อ ช่วยให้เราโฟกัสได้ว่าถึงข้อไหนแล้ว
ข้อสอบฟัง ส่วนมากอยู่ที่การฝึกฝน ไม่ได้ยากมาก ฟังบ่อยๆ ทำแบบฝึกหัดให้มาก จะได้รู้ว่า มันถามแบบไหน หลังจากทำแบบฝึกหัดฟังแล้ว เอามาฟังซ้ำ ตรงไหนไม่เข้าใจอ่านสคริปต์ แปลไม่ได้เปิดดิกชันนารี ต้องขยันหน่อย แต่ส่วนมากศัพท์ไม่ยาก และคำถามไม่ได้เน้นลึก แค่รู้เนื้อเรื่องคร่าวๆก็ตอบคำถามได้แล้ว
โดยส่วนตัวต้องเปิดให้คนอื่นฟังก็ฝึกฟังไปด้วย ขยับปากพูดตามเบาๆ การพูดตามช่วยในเรื่องการฟัง ว่าเราเข้าใจจริงๆ ฝึกแบบฝึกหัด ของ ets, oxford ถ้ามีสิบชุด ฝึกเป็นช่วงๆ อาจจะทีละสองชุด ทำแบบฝึกหัด แล้วฟังซ้ำ อีกอาทิตย์ฟังสองชุดต่อไป ประเมินว่าคะแนนและความเข้าใจ พัฒนาการเพิ่มขึ้นขนาดไหน ถ้ายังไม่พัฒนากลับมาฟังซ้ำ อ่านสคริปต์ชุดเก่า จนคะแนนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชุด 7-8 ควรดีขึ้นจากชุดแรกพอควร
สำหรับแบบฝึกหัด ดูจากในลิงค์ หรือโหลดจากแบบฝึกหัด ets ค้นหา ets toeic lc rc ในกูเกิ้ล
https://www.youtube.com/watch?v=t6BLT37JkEQ&list=PLM8ZWCINBi2SHCou7pWpSdL-xacwPKdzo
ส่วนการฟังได้คร่าวๆประมาณนี้
ส่วนอ่านยังไม่ทันเขียนเลย สอบมานานแล้ว
ขอเวลาแป๊บ
สำหรับใครต้องการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติม ติดตามได้ที่เพจ https://www.facebook.com/toeicsongedu/
มีข้อสอบของเกาหลีที่เปลี่ยนไปแล้ว กำลังโพส ไม่รู้ไทยเปลี่ยนปีหน้ามั้ย
เดี๋ยวมีฟังด้วย พูดกันสองสามคน ฟังดูแล้วก็ไม่ยาก
ก็อย่าท้อกัน บางคนอ่านยังไม่ได้สามร้อย ฟังเต็ม เพราะฟังง่ายกว่าอ่าน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้