[๒๕] ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกนี้มีปรากฏอยู่ในโลก
บุคคล ๓ จำพวกไหนบ้าง คือ
๑. บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า ๒. บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ
๓. บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร
บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นคนมักโกรธ มากไปด้วยความคับแค้นใจ
ถูกว่ากล่าวแม้เพียงเล็กน้อยก็ขัดใจ โกรธเคือง พยาบาท ขึ้งเคียด แสดงอาการโกรธ
ขัดเคือง และไม่พอใจ เปรียบเหมือนแผลเก่าถูกไม้หรือกระเบื้องกระทบเข้า ย่อม
ให้เกิดความเจ็บปวดมากขึ้น แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล
เป็นคน มักโกรธ มากไปด้วยความคับแค้นใจ ถูกว่ากล่าวแม้เพียงเล็กน้อยก็ขัดใจ
โกรธเคือง พยาบาท ขึ้งเคียด แสดงอาการโกรธ ขัดเคือง และไม่พอใจ นี้เรียกว่า
บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า
บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย
นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” เปรียบเหมือนคนมีตาดีเห็นรูปได้ในขณะ
ฟ้าแลบในเวลากลางคืนที่มืดมิด แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๐ หน้า : ๑๗๓}
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต [๑. ปฐมปัณณาสก์]
๓. ปุคคลวรรค ๖. เสวิตัพพสูตร
รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินี-
ปฏิปทา” นี้เรียกว่า บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ
บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร๑- เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ
เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน เหมือนอย่างแก้วหรือหินที่ไม่ถูกเพชรเจาะเสียเลยย่อมไม่มี แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉัน
นั้นเหมือนกันแล ... เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน
นี้เรียกว่า บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกนี้แลมีปรากฏอยู่ในโลก
วชิรูปมสูตรที่ ๕ จบ
๕ฯ วชิรูปมสุตฺตํ
๒๕ฯ ‘‘ตโยเม, ภิกฺขเว, ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมํฯ กตเม ตโย? อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโล, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโล, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ กตโม จ, ภิกฺขเว, อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล โกธโน โหติ อุปายาสพหุโล
อปฺปมฺปิ วุตฺโต สมาโน อภิสชฺชติ กุปฺปติ พฺยาปชฺชติ ปติตฺถียติ โกปญฺจ โทสญฺจ อปฺปจฺจยญฺจ ปาตุกโรติฯ เสยฺยถาปิ, ภิกฺขเว, ทุฏฺฐารุโก [ทุฏฺฐารุกา (สีฯ)] กฏฺเฐน วา กฐลาย [กถลาย (สฺยาฯ กํฯ กฯ), กฐเลน-กถเลน (อฏฺฐกถา)] วา ฆฏฺฏิโต [ฆฏฺฏิตา (สีฯ)] ภิยฺโยโสมตฺตาย อาสวํ เทติ [อสฺสวโนติ (สีฯ)]; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล โกธโน โหติ อุปายาสพหุโล อปฺปมฺปิ วุตฺโต สมาโน อภิสชฺชติ กุปฺปติ พฺยาปชฺชติ ปติตฺถียติ โกปญฺจ โทสญฺจ อปฺปจฺจยญฺจ ปาตุกโรติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ
‘‘กตโม จ, ภิกฺขเว, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล ‘อิทํ ทุกฺข’นฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขสมุทโย’ติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขนิโรโธ’ติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา’ติ ยถาภูตํ ปชานาติฯ เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว, จกฺขุมา ปุริโส รตฺตนฺธการติมิสายํ วิชฺชนฺตริกาย รูปานิ ปสฺเสยฺย; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล ‘อิทํ ทุกฺข’นฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ…เป… ‘อยํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา’ติ ยถาภูตํ ปชานาติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ
‘‘กตโม จ, ภิกฺขเว, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตํ ปญฺญาวิมุตฺตํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรติฯ เสยฺยถาปิ, ภิกฺขเว, วชิรสฺส นตฺถิ กิญฺจิ อเภชฺชํ มณิ วา ปาสาโณ วา; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล อาสวานํ ขยา…เป… อุปสมฺปชฺช วิหรติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ ‘อิเม โข, ภิกฺขเว, ตโย ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมิ’’’นฺติ [ปุฯ ปฯ ๑๐๒]ฯ ปญฺจมํฯ
5. Vajirūpamasuttaṃ
25. ‘‘Tayome, bhikkhave, puggalā santo saṃvijjamānā lokasmiṃ. Katame tayo? Arukūpamacitto puggalo, vijjūpamacitto puggalo, vajirūpamacitto puggalo. Katamo ca, bhikkhave, arukūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo kodhano hoti upāyāsabahulo
appampi vutto samāno abhisajjati kuppati byāpajjati patitthīyati kopañca dosañca appaccayañca pātukaroti. Seyyathāpi, bhikkhave, duṭṭhāruko [duṭṭhārukā (sī.)] kaṭṭhena vā kaṭhalāya [kathalāya (syā. kaṃ. ka.), kaṭhalena-kathalena (aṭṭhakathā)] vā ghaṭṭito [ghaṭṭitā (sī.)] bhiyyosomattāya āsavaṃ deti [assavanoti (sī.)]; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo kodhano hoti upāyāsabahulo appampi vutto samāno abhisajjati kuppati byāpajjati patitthīyati kopañca dosañca appaccayañca pātukaroti. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, arukūpamacitto puggalo.
‘‘Katamo ca, bhikkhave, vijjūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo ‘idaṃ dukkha’nti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhasamudayo’ti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhanirodho’ti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā’ti yathābhūtaṃ pajānāti. Seyyathāpi bhikkhave, cakkhumā puriso rattandhakāratimisāyaṃ vijjantarikāya rūpāni passeyya; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo ‘idaṃ dukkha’nti yathābhūtaṃ pajānāti…pe… ‘ayaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā’ti yathābhūtaṃ pajānāti. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, vijjūpamacitto puggalo.
‘‘Katamo ca, bhikkhave, vajirūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo āsavānaṃ khayā anāsavaṃ cetovimuttiṃ paññāvimuttiṃ diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharati. Seyyathāpi, bhikkhave, vajirassa natthi kiñci abhejjaṃ maṇi vā pāsāṇo vā; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo āsavānaṃ khayā…pe… upasampajja viharati. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, vajirūpamacitto puggalo. ‘Ime kho, bhikkhave, tayo puggalā santo saṃvijjamānā lokasmi’’’nti [pu. pa. 102]. Pañcamaṃ.
५॥ वजिरूपमसुत्तं
२५॥ ‘‘तयोमे। भिक्खवे। पुग्गला सन्तो संविज्जमाना लोकस्मिं॥ कतमे तयो? अरुकूपमचित्तो पुग्गलो। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो॥ कतमो च। भिक्खवे। अरुकूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो कोधनो होति उपायासबहुलो
अप्पम्पि वुत्तो समानो अभिसज्जति कुप्पति ब्यापज्जति पतित्थीयति कोपञ्च दोसञ्च अप्पच्चयञ्च पातुकरोति॥ सेय्यथापि। भिक्खवे। दुट्ठारुको [दुट्ठारुका (सी॥)] कट्ठेन वा कठलाय [कथलाय (स्या॥ कं॥ क॥)। कठलेन-कथलेन (अट्ठकथा)] वा घट्ट ितो [घट्ट िता (सी॥)] भिय्योसोमत्ताय आसवं देति [अस्सवनोति (सी॥)]। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो कोधनो होति उपायासबहुलो अप्पम्पि वुत्तो समानो अभिसज्जति कुप्पति ब्यापज्जति पतित्थीयति कोपञ्च दोसञ्च अप्पच्चयञ्च पातुकरोति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। अरुकूपमचित्तो पुग्गलो॥
‘‘कतमो च। भिक्खवे। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो ‘इदं दुक्ख’न्ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खसमुदयो’ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खनिरोधो’ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खनिरोधगामिनी पटिपदा’ति यथाभूतं पजानाति॥ सेय्यथापि भिक्खवे। चक्खुमा पुरिसो रत्तन्धकारतिमिसायं विज्जन्तरिकाय रूपानि पस्सेय्य। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो ‘इदं दुक्ख’न्ति यथाभूतं पजानाति…पे… ‘अयं दुक्खनिरोधगामिनी पटिपदा’ति यथाभूतं पजानाति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो॥
‘‘कतमो च। भिक्खवे। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो आसवानं खया अनासवं चेतोविमुत्तिं पञ्ञाविमुत्तिं दिट्ठेव धम्मे सयं अभिञ्ञा सच्छिकत्वा उपसम्पज्ज विहरति॥ सेय्यथापि। भिक्खवे। वजिरस्स नत्थि किञ्चि अभेज्जं मणि वा पासाणो वा। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो आसवानं खया…पे… उपसम्पज्ज विहरति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो॥ ‘इमे खो। भिक्खवे। तयो पुग्गला सन्तो संविज्जमाना लोकस्मि’’’न्ति [पु॥ प॥ १०२]॥ पञ्चमं॥
၅။ ဝဇိ႐ူပမသုတၱံ
၂၅။ ‘‘တေယာေမ, ဘိကၡေဝ, ပုဂၢလာ သေႏၲာ သံဝိဇၨမာနာ ေလာကသၼႎ။ ကတေမ တေယာ? အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။ ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ ေကာဓေနာ ေဟာတိ ဥပါယာသဗဟုေလာ
အပၸမၸိ ဝုေတၱာ သမာေနာ အဘိသဇၨတိ ကုပၸတိ ဗ်ာပဇၨတိ ပတိတၳီယတိ ေကာပၪၥ ေဒါသၪၥ အပၸစၥယၪၥ ပါတုကေရာတိ။ ေသယ်ထာပိ, ဘိကၡေဝ, ဒု႒ာ႐ုေကာ [ဒု႒ာ႐ုကာ (သီ။)] ကေ႒န ဝါ ကဌလာယ [ကထလာယ (သ်ာ။ ကံ။ က။), ကဌေလန-ကထေလန (အ႒ကထာ)] ဝါ ဃ႗ိေတာ [ဃ႗ိတာ (သီ။)] ဘိေယ်ာေသာမတၱာယ အာသဝံ ေဒတိ [အႆဝေနာတိ (သီ။)]၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ ေကာဓေနာ ေဟာတိ ဥပါယာသဗဟုေလာ အပၸမၸိ ဝုေတၱာ သမာေနာ အဘိသဇၨတိ ကုပၸတိ ဗ်ာပဇၨတိ ပတိတၳီယတိ ေကာပၪၥ ေဒါသၪၥ အပၸစၥယၪၥ ပါတုကေရာတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။
‘‘ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ ‘ဣဒံ ဒုကၡ’ႏၲိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡသမုဒေယာ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡနိေရာေဓာ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡနိေရာဓဂါမိနီ ပဋိပဒါ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ။ ေသယ်ထာပိ ဘိကၡေဝ, စကၡဳမာ ပုရိေသာ ရတၱႏၶကာရတိမိသာယံ ဝိဇၨႏၲရိကာယ ႐ူပါနိ ပေႆယ်၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ ‘ဣဒံ ဒုကၡ’ႏၲိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ…ေပ… ‘အယံ ဒုကၡနိေရာဓဂါမိနီ ပဋိပဒါ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။
‘‘ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ အာသဝါနံ ခယာ အနာသဝံ ေစေတာဝိမုတၱႎ ပညာဝိမုတၱႎ ဒိေ႒ဝ ဓေမၼ သယံ အဘိညာ သစၧိကတြာ ဥပသမၸဇၨ ဝိဟရတိ။ ေသယ်ထာပိ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိရႆ နတၳိ ကိၪၥိ အေဘဇၨံ မဏိ ဝါ ပါသာေဏာ ဝါ၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ အာသဝါနံ ခယာ…ေပ… ဥပသမၸဇၨ ဝိဟရတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။ ‘ဣေမ ေခါ, ဘိကၡေဝ, တေယာ ပုဂၢလာ သေႏၲာ သံဝိဇၨမာနာ ေလာကသၼိ’’’ႏၲိ [ပု။ ပ။ ၁၀၂]။ ပၪၥမံ။
28. Buddhapakiṇṇakakaṇḍaṃ
1.
Aparimeyyito kappe, caturo āsuṃ vināyakā;
Taṇhaṅkaro medhaṅkaro, athopi saraṇaṅkaro;
Dīpaṅkaro ca sambuddho, ekakappamhi te jinā.
2.
Dīpaṅkarassa aparena, koṇḍañño nāma nāyako;
Ekova ekakappamhi, tāresi janataṃ bahuṃ.
3.
Dīpaṅkarassa bhagavato, koṇḍaññassa ca satthuno;
Etesaṃ antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
4.
Koṇḍaññassa aparena, maṅgalo nāma nāyako;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
5.
Maṅgalo ca sumano ca, revato sobhito muni;
Tepi buddhā ekakappe, cakkhumanto pabhaṅkarā.
6.
Sobhitassa aparena, anomadassī mahāyaso;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
7.
Anomadassī padumo, nārado cāpi nāyako;
Tepi buddhā ekakappe, tamantakārakā munī.
8.
Nāradassa aparena, padumuttaro nāma nāyako;
Ekakappamhi uppanno, tāresi janataṃ bahuṃ.
9.
Nāradassa bhagavato, padumuttarassa satthuno;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
10.
Kappasatasahassamhi, eko āsi mahāmuni;
Padumuttaro lokavidū, āhutīnaṃ paṭiggaho.
11.
Tiṃsakappasahassamhi, duve āsuṃ vināyakā [āsiṃsu nāyakā (syā. ka.)];
Sumedho ca sujāto ca, orato padumuttarā.
12.
Aṭṭhārase kappasate, tayo āsuṃ vināyakā [āsiṃsu nāyakā (syā. ka.)];
Piyadassī atthadassī, dhammadassī ca nāyakā.
13.
Orato ca sujātassa, sambuddhā dvipaduttamā;
Ekakappamhi te buddhā, loke appaṭipuggalā.
14.
Catunnavutito kappe, eko āsi mahāmuni;
Siddhattho so lokavidū, sallakatto anuttaro.
15.
Dvenavute ito kappe, duve ās
ว่าด้วยบุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร
บุคคล ๓ จำพวกไหนบ้าง คือ
๑. บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า ๒. บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ
๓. บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร
บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นคนมักโกรธ มากไปด้วยความคับแค้นใจ
ถูกว่ากล่าวแม้เพียงเล็กน้อยก็ขัดใจ โกรธเคือง พยาบาท ขึ้งเคียด แสดงอาการโกรธ
ขัดเคือง และไม่พอใจ เปรียบเหมือนแผลเก่าถูกไม้หรือกระเบื้องกระทบเข้า ย่อม
ให้เกิดความเจ็บปวดมากขึ้น แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล
เป็นคน มักโกรธ มากไปด้วยความคับแค้นใจ ถูกว่ากล่าวแม้เพียงเล็กน้อยก็ขัดใจ
โกรธเคือง พยาบาท ขึ้งเคียด แสดงอาการโกรธ ขัดเคือง และไม่พอใจ นี้เรียกว่า
บุคคลที่มีจิตเหมือนแผลเก่า
บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย
นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” เปรียบเหมือนคนมีตาดีเห็นรูปได้ในขณะ
ฟ้าแลบในเวลากลางคืนที่มืดมิด แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๐ หน้า : ๑๗๓}
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต [๑. ปฐมปัณณาสก์]
๓. ปุคคลวรรค ๖. เสวิตัพพสูตร
รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินี-
ปฏิปทา” นี้เรียกว่า บุคคลที่มีจิตเหมือนฟ้าแลบ
บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร๑- เป็นอย่างไร
คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ
เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน เหมือนอย่างแก้วหรือหินที่ไม่ถูกเพชรเจาะเสียเลยย่อมไม่มี แม้ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉัน
นั้นเหมือนกันแล ... เพราะอาสวะสิ้นไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน
นี้เรียกว่า บุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกนี้แลมีปรากฏอยู่ในโลก
วชิรูปมสูตรที่ ๕ จบ
๕ฯ วชิรูปมสุตฺตํ
๒๕ฯ ‘‘ตโยเม, ภิกฺขเว, ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมํฯ กตเม ตโย? อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโล, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโล, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ กตโม จ, ภิกฺขเว, อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล โกธโน โหติ อุปายาสพหุโล
อปฺปมฺปิ วุตฺโต สมาโน อภิสชฺชติ กุปฺปติ พฺยาปชฺชติ ปติตฺถียติ โกปญฺจ โทสญฺจ อปฺปจฺจยญฺจ ปาตุกโรติฯ เสยฺยถาปิ, ภิกฺขเว, ทุฏฺฐารุโก [ทุฏฺฐารุกา (สีฯ)] กฏฺเฐน วา กฐลาย [กถลาย (สฺยาฯ กํฯ กฯ), กฐเลน-กถเลน (อฏฺฐกถา)] วา ฆฏฺฏิโต [ฆฏฺฏิตา (สีฯ)] ภิยฺโยโสมตฺตาย อาสวํ เทติ [อสฺสวโนติ (สีฯ)]; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล โกธโน โหติ อุปายาสพหุโล อปฺปมฺปิ วุตฺโต สมาโน อภิสชฺชติ กุปฺปติ พฺยาปชฺชติ ปติตฺถียติ โกปญฺจ โทสญฺจ อปฺปจฺจยญฺจ ปาตุกโรติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, อรุกูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ
‘‘กตโม จ, ภิกฺขเว, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล ‘อิทํ ทุกฺข’นฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขสมุทโย’ติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขนิโรโธ’ติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อยํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา’ติ ยถาภูตํ ปชานาติฯ เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว, จกฺขุมา ปุริโส รตฺตนฺธการติมิสายํ วิชฺชนฺตริกาย รูปานิ ปสฺเสยฺย; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล ‘อิทํ ทุกฺข’นฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ…เป… ‘อยํ ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา’ติ ยถาภูตํ ปชานาติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, วิชฺชูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ
‘‘กตโม จ, ภิกฺขเว, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโล? อิธ, ภิกฺขเว, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตฺตํ ปญฺญาวิมุตฺตํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรติฯ เสยฺยถาปิ, ภิกฺขเว, วชิรสฺส นตฺถิ กิญฺจิ อเภชฺชํ มณิ วา ปาสาโณ วา; เอวเมวํ โข, ภิกฺขเว, อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล อาสวานํ ขยา…เป… อุปสมฺปชฺช วิหรติฯ อยํ วุจฺจติ, ภิกฺขเว, วชิรูปมจิตฺโต ปุคฺคโลฯ ‘อิเม โข, ภิกฺขเว, ตโย ปุคฺคลา สนฺโต สํวิชฺชมานา โลกสฺมิ’’’นฺติ [ปุฯ ปฯ ๑๐๒]ฯ ปญฺจมํฯ
5. Vajirūpamasuttaṃ
25. ‘‘Tayome, bhikkhave, puggalā santo saṃvijjamānā lokasmiṃ. Katame tayo? Arukūpamacitto puggalo, vijjūpamacitto puggalo, vajirūpamacitto puggalo. Katamo ca, bhikkhave, arukūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo kodhano hoti upāyāsabahulo
appampi vutto samāno abhisajjati kuppati byāpajjati patitthīyati kopañca dosañca appaccayañca pātukaroti. Seyyathāpi, bhikkhave, duṭṭhāruko [duṭṭhārukā (sī.)] kaṭṭhena vā kaṭhalāya [kathalāya (syā. kaṃ. ka.), kaṭhalena-kathalena (aṭṭhakathā)] vā ghaṭṭito [ghaṭṭitā (sī.)] bhiyyosomattāya āsavaṃ deti [assavanoti (sī.)]; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo kodhano hoti upāyāsabahulo appampi vutto samāno abhisajjati kuppati byāpajjati patitthīyati kopañca dosañca appaccayañca pātukaroti. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, arukūpamacitto puggalo.
‘‘Katamo ca, bhikkhave, vijjūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo ‘idaṃ dukkha’nti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhasamudayo’ti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhanirodho’ti yathābhūtaṃ pajānāti, ‘ayaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā’ti yathābhūtaṃ pajānāti. Seyyathāpi bhikkhave, cakkhumā puriso rattandhakāratimisāyaṃ vijjantarikāya rūpāni passeyya; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo ‘idaṃ dukkha’nti yathābhūtaṃ pajānāti…pe… ‘ayaṃ dukkhanirodhagāminī paṭipadā’ti yathābhūtaṃ pajānāti. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, vijjūpamacitto puggalo.
‘‘Katamo ca, bhikkhave, vajirūpamacitto puggalo? Idha, bhikkhave, ekacco puggalo āsavānaṃ khayā anāsavaṃ cetovimuttiṃ paññāvimuttiṃ diṭṭheva dhamme sayaṃ abhiññā sacchikatvā upasampajja viharati. Seyyathāpi, bhikkhave, vajirassa natthi kiñci abhejjaṃ maṇi vā pāsāṇo vā; evamevaṃ kho, bhikkhave, idhekacco puggalo āsavānaṃ khayā…pe… upasampajja viharati. Ayaṃ vuccati, bhikkhave, vajirūpamacitto puggalo. ‘Ime kho, bhikkhave, tayo puggalā santo saṃvijjamānā lokasmi’’’nti [pu. pa. 102]. Pañcamaṃ.
५॥ वजिरूपमसुत्तं
२५॥ ‘‘तयोमे। भिक्खवे। पुग्गला सन्तो संविज्जमाना लोकस्मिं॥ कतमे तयो? अरुकूपमचित्तो पुग्गलो। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो॥ कतमो च। भिक्खवे। अरुकूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो कोधनो होति उपायासबहुलो
अप्पम्पि वुत्तो समानो अभिसज्जति कुप्पति ब्यापज्जति पतित्थीयति कोपञ्च दोसञ्च अप्पच्चयञ्च पातुकरोति॥ सेय्यथापि। भिक्खवे। दुट्ठारुको [दुट्ठारुका (सी॥)] कट्ठेन वा कठलाय [कथलाय (स्या॥ कं॥ क॥)। कठलेन-कथलेन (अट्ठकथा)] वा घट्ट ितो [घट्ट िता (सी॥)] भिय्योसोमत्ताय आसवं देति [अस्सवनोति (सी॥)]। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो कोधनो होति उपायासबहुलो अप्पम्पि वुत्तो समानो अभिसज्जति कुप्पति ब्यापज्जति पतित्थीयति कोपञ्च दोसञ्च अप्पच्चयञ्च पातुकरोति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। अरुकूपमचित्तो पुग्गलो॥
‘‘कतमो च। भिक्खवे। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो ‘इदं दुक्ख’न्ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खसमुदयो’ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खनिरोधो’ति यथाभूतं पजानाति। ‘अयं दुक्खनिरोधगामिनी पटिपदा’ति यथाभूतं पजानाति॥ सेय्यथापि भिक्खवे। चक्खुमा पुरिसो रत्तन्धकारतिमिसायं विज्जन्तरिकाय रूपानि पस्सेय्य। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो ‘इदं दुक्ख’न्ति यथाभूतं पजानाति…पे… ‘अयं दुक्खनिरोधगामिनी पटिपदा’ति यथाभूतं पजानाति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। विज्जूपमचित्तो पुग्गलो॥
‘‘कतमो च। भिक्खवे। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो? इध। भिक्खवे। एकच्चो पुग्गलो आसवानं खया अनासवं चेतोविमुत्तिं पञ्ञाविमुत्तिं दिट्ठेव धम्मे सयं अभिञ्ञा सच्छिकत्वा उपसम्पज्ज विहरति॥ सेय्यथापि। भिक्खवे। वजिरस्स नत्थि किञ्चि अभेज्जं मणि वा पासाणो वा। एवमेवं खो। भिक्खवे। इधेकच्चो पुग्गलो आसवानं खया…पे… उपसम्पज्ज विहरति॥ अयं वुच्चति। भिक्खवे। वजिरूपमचित्तो पुग्गलो॥ ‘इमे खो। भिक्खवे। तयो पुग्गला सन्तो संविज्जमाना लोकस्मि’’’न्ति [पु॥ प॥ १०२]॥ पञ्चमं॥
၅။ ဝဇိ႐ူပမသုတၱံ
၂၅။ ‘‘တေယာေမ, ဘိကၡေဝ, ပုဂၢလာ သေႏၲာ သံဝိဇၨမာနာ ေလာကသၼႎ။ ကတေမ တေယာ? အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။ ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ ေကာဓေနာ ေဟာတိ ဥပါယာသဗဟုေလာ
အပၸမၸိ ဝုေတၱာ သမာေနာ အဘိသဇၨတိ ကုပၸတိ ဗ်ာပဇၨတိ ပတိတၳီယတိ ေကာပၪၥ ေဒါသၪၥ အပၸစၥယၪၥ ပါတုကေရာတိ။ ေသယ်ထာပိ, ဘိကၡေဝ, ဒု႒ာ႐ုေကာ [ဒု႒ာ႐ုကာ (သီ။)] ကေ႒န ဝါ ကဌလာယ [ကထလာယ (သ်ာ။ ကံ။ က။), ကဌေလန-ကထေလန (အ႒ကထာ)] ဝါ ဃ႗ိေတာ [ဃ႗ိတာ (သီ။)] ဘိေယ်ာေသာမတၱာယ အာသဝံ ေဒတိ [အႆဝေနာတိ (သီ။)]၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ ေကာဓေနာ ေဟာတိ ဥပါယာသဗဟုေလာ အပၸမၸိ ဝုေတၱာ သမာေနာ အဘိသဇၨတိ ကုပၸတိ ဗ်ာပဇၨတိ ပတိတၳီယတိ ေကာပၪၥ ေဒါသၪၥ အပၸစၥယၪၥ ပါတုကေရာတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, အ႐ုကူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။
‘‘ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ ‘ဣဒံ ဒုကၡ’ႏၲိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡသမုဒေယာ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡနိေရာေဓာ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ, ‘အယံ ဒုကၡနိေရာဓဂါမိနီ ပဋိပဒါ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ။ ေသယ်ထာပိ ဘိကၡေဝ, စကၡဳမာ ပုရိေသာ ရတၱႏၶကာရတိမိသာယံ ဝိဇၨႏၲရိကာယ ႐ူပါနိ ပေႆယ်၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ ‘ဣဒံ ဒုကၡ’ႏၲိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ…ေပ… ‘အယံ ဒုကၡနိေရာဓဂါမိနီ ပဋိပဒါ’တိ ယထာဘူတံ ပဇာနာတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, ဝိဇၨဴပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။
‘‘ကတေမာ စ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ? ဣဓ, ဘိကၡေဝ, ဧကေစၥာ ပုဂၢေလာ အာသဝါနံ ခယာ အနာသဝံ ေစေတာဝိမုတၱႎ ပညာဝိမုတၱႎ ဒိေ႒ဝ ဓေမၼ သယံ အဘိညာ သစၧိကတြာ ဥပသမၸဇၨ ဝိဟရတိ။ ေသယ်ထာပိ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိရႆ နတၳိ ကိၪၥိ အေဘဇၨံ မဏိ ဝါ ပါသာေဏာ ဝါ၊ ဧဝေမဝံ ေခါ, ဘိကၡေဝ, ဣေဓကေစၥာ ပုဂၢေလာ အာသဝါနံ ခယာ…ေပ… ဥပသမၸဇၨ ဝိဟရတိ။ အယံ ဝုစၥတိ, ဘိကၡေဝ, ဝဇိ႐ူပမစိေတၱာ ပုဂၢေလာ။ ‘ဣေမ ေခါ, ဘိကၡေဝ, တေယာ ပုဂၢလာ သေႏၲာ သံဝိဇၨမာနာ ေလာကသၼိ’’’ႏၲိ [ပု။ ပ။ ၁၀၂]။ ပၪၥမံ။
28. Buddhapakiṇṇakakaṇḍaṃ
1.
Aparimeyyito kappe, caturo āsuṃ vināyakā;
Taṇhaṅkaro medhaṅkaro, athopi saraṇaṅkaro;
Dīpaṅkaro ca sambuddho, ekakappamhi te jinā.
2.
Dīpaṅkarassa aparena, koṇḍañño nāma nāyako;
Ekova ekakappamhi, tāresi janataṃ bahuṃ.
3.
Dīpaṅkarassa bhagavato, koṇḍaññassa ca satthuno;
Etesaṃ antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
4.
Koṇḍaññassa aparena, maṅgalo nāma nāyako;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
5.
Maṅgalo ca sumano ca, revato sobhito muni;
Tepi buddhā ekakappe, cakkhumanto pabhaṅkarā.
6.
Sobhitassa aparena, anomadassī mahāyaso;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
7.
Anomadassī padumo, nārado cāpi nāyako;
Tepi buddhā ekakappe, tamantakārakā munī.
8.
Nāradassa aparena, padumuttaro nāma nāyako;
Ekakappamhi uppanno, tāresi janataṃ bahuṃ.
9.
Nāradassa bhagavato, padumuttarassa satthuno;
Tesampi antarā kappā, gaṇanāto asaṅkhiyā.
10.
Kappasatasahassamhi, eko āsi mahāmuni;
Padumuttaro lokavidū, āhutīnaṃ paṭiggaho.
11.
Tiṃsakappasahassamhi, duve āsuṃ vināyakā [āsiṃsu nāyakā (syā. ka.)];
Sumedho ca sujāto ca, orato padumuttarā.
12.
Aṭṭhārase kappasate, tayo āsuṃ vināyakā [āsiṃsu nāyakā (syā. ka.)];
Piyadassī atthadassī, dhammadassī ca nāyakā.
13.
Orato ca sujātassa, sambuddhā dvipaduttamā;
Ekakappamhi te buddhā, loke appaṭipuggalā.
14.
Catunnavutito kappe, eko āsi mahāmuni;
Siddhattho so lokavidū, sallakatto anuttaro.
15.
Dvenavute ito kappe, duve ās