ในช่วงปลายศตวรรษที่ 14 ชาวยุโรปก็เริ่มใช้แรงงานชาวแอฟริกัน ในเริ่มแรกนั้นพวกเขาเป็นคนรับใช้ให้กับคนรวย ชาวยุโรปอ้างว่า การนำทาสชาวแอฟริกันมาเป็นขี้ข้ารับใช้นั้น เพื่อที่จะทำให้พวกเขาเป็นชาวคริสเตียน ในช่วงศตวรรษที่ 17 ก็ได้มีการนำชาวแอฟริกันเข้าพิธีศักดิ์สิทธิ์เพื่อที่จะทำให้พวกเขาเป็นคริสเตียนได้อย่างเต็มตัว
แม้ว่ากัปตันเรือสเปนกับโปรตุเกสได้เริ่มสำรวจแถบอเมริกาแล้วพบว่า ชาวอเมริกันมีชาวแอฟริกันเป็นทาสรับใช้ ประเด็นที่สำคัญก็คือมีชาวแอฟริกันบางคนเป็นนักสำรวจที่ดี หนึ่งในนั้นก็คือ Estevanico ซึ่งเป็นคนแรกที่เดินทางไปยังนิวเม็กซิโกกับแอริโซนา
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในอเมริกาก็ได้ทำการต่อต้านการเข้ามาของชาวยุโรปที่พยายามครอบครองผืนแผ่นดินของพวกเขา เหตุการณ์ที่สำคัญเหตุการณ์หนึ่งก็เกิดขึ้นในประเทศคิวบาเมื่อปี 1512 ฝ่ายต่อต้านที่นำโดย Hatuey สอดคล้องกับ Hatuey ที่กล่าวว่า “พวกเขาบอกเราว่า ทรราชพวกนี้บูชาเทพเจ้าแห่งสันติและความเท่าเทียมกัน และตราบใดที่พวกเขายังแย่งชิงผืนแผ่นดินของพวกเราและทำให้พวกเราเป็นทาสอยู่นั้น พวกเขาก็มักจะบอกกับพวกเราเกี่ยวกับจิตวิญญาณและผลตอบแทนและการลงโทษอย่างไม่รู้จักจบสิ้น และตราบใดที่พวกเขาปล้นพวกเราแบบนี้ต่อไป มีการละเมิดทางเพศผู้หญิงของพวกเรา กระทำรุนแรงต่อลูกๆของพวกเรา มองพวกเราเป็นพวกขี้ขลาดตาขาว กระทำกับพวกอ่อนแออย่างพวกเราแล้วล่ะก็ พวกขี้ขลาดตาขาวพวกนี้มักจะกดขี่ข่มเหงพวกเราไม่รู้จักจบสิ้น”
ในที่สุด Diego Velazquez ก็สามารถปราบกลุ่มกบฏลงไปได้ เขาได้ทำการจับกุม Hatuey และได้ทำการประหารชีวิตเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ปี 1512 ประเมินได้ว่ามีผู้คนหลายล้านคนในประเทศคิวบาก่อนที่จะมีชาวยุโรปเข้ามาอพยพ ใน 25 ปีต่อมาก็มีผู้คนออกจากประเทศเพียงแค่ 2000 คนเท่านั้น โดยส่วนใหญ่ถูกสังหาร ในขณะที่คนอื่นๆเสียชีวิตจากภาวะขาดแคลนอาหาร เป็นโรค ฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตจากการทำงานหนักเป็นเวลาหลายชั่วโมงในเหมืองแร่ทองคำ
หลังจากที่ชาวยุโรปเข้ามาอพยพแล้ว ก็เป็นที่แน่นอนว่าเป็นประชากรส่วนน้อยในเกาะแถบทะเลแคริบเบียน นี่ถือเป็นการสร้างปัญหาของชาวยุโรปจากการที่พวกเขาต้องการแรงงานในการหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สุดท้ายชาวยุโรปก็มาพร้อมกับปัญหาก็คือ มีการสร้าทาสชาวแอฟริกันขึ้นมา ในปี 1540 ประเมินได้ว่ามีทาสจำนวน 1 หมื่นคนต่อไปมาจากแอฟริกันเข้ามาแทนที่พลเมืองในแถบนั้นๆ
สอดคล้องกับ Suzanne Schwarz ซึ่งเป็นผู้เขียน Slave Captain : The Career Of James Irving In The Liverpool Slave Trade (1995) ที่กล่าวเอาไว้ว่า “การลำเลียงค้ามนุษย์มีอยู่ทั่วโลกและมีอยู่ทุกๆประเทศ ซึ่งล้วนแล้วมีส่วนเกี่ยวข้องอิทธิพลในแถบยุโรป ทั้งจากสเปนและโปรตุเกสจนถึงฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์หรือแม้แต่บรันเดนบูร์ก มีการลำเลียงทาสกว่า 3 หมื่น 7 พันคนเข้ามาที่ท่าเรือในแถบฝั่งแอกแลนติกในช่วงศตวรรษที่ 16 ถึงช่วงกลางๆศตวรรษที่ 19 และมีการลำเลียงทาสซึ่งประเมินได้ว่าผู้คน 11 ล้านคนเป็นชาวแอฟริกัน
พ่อค้าชาวอังกฤษหลายคนก็มีส่วนเกี่ยวข้องในการค้าทาสและสุดท้ายก็ได้ครองตลาดค้าทาส ซึ่งทาง West Indian Atas ก็ได้อธิบายในปี 1796 ว่า “ทุกๆปีจะมีทาสประมาณ 7 หมื่น 2 พันคนที่มาจากประเทศแอฟริกาย้ายมายังอินเดียตะวันตก โดยมีทาสจำนวน 3 หมื่นคนจากชนเดนส์ 7 พันคนเป็นชาวฮอลันดา 1 หมื่น 8 พันคนเป็นชาวฝรั่งเศส อีก 8 พันคนเป็นชาวโปรตุเกส ซึ่งทุกๆคนล้วนพูดภาษาอังกฤษได้”
ชาวอังกฤษได้สร้างท่าเรือชายฝั่งในแอฟริกาเพื่อที่พวกเขาจะทำการจับกุมชาวแอฟริกันเข้าเรือลำเลียงทาสได้ ทางด้านพ่อค้าหลายคนก็ได้ใช้งานทาสชาวแอฟริกันในการลำเลียงสินค้าเข้าสู่ยุโรป ในตอนแรกนั้นทาสจะมาจากการจับกุมเป็นเชลยศึกจากสงคราม อย่างไรก็ตามทาสก็เริ่มมีการจัดระเบียบให้เป็นระบบมากขึ้นเพื่อที่จะรองรับคนรุ่นใหม่ชาวแอฟริกัน
มีการประเมินกันว่า มีทาสกว่า 326000 คนมาจาก Bight Of Bonny ระหว่างในช่วงปี 1780 กับ 1800 มีชาวแอฟริกันกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ถูกลำเลียงจากเรืออังกฤษ ส่วนใหญ่มีท่าอยู่ที่ลิเวอร์พลู ศัลยแพทย์เรือขนทาส Alexander Falconbridge ได้รายงานในปี 1790 ว่า มีสินค้าหลายอย่างที่แลกกับทาสซึ่งประกอบไปด้วยอาวุธปืน ดินปืน สิ่งทอ เหล็กบาร์และเหล้าบรั่นดี มีสินอื่นๆซึ่งก็รวมไปถึงทองแดง ทองเหลืองและก็โลหะชนิดอื่นๆ ทางด้าน Paul Lovejoy ซึ่งเป็นผู้เขียนหนังสือ Transformations In Slavery : A History Of Slavery In Africa (1983) ได้โต้แย้งว่า สินค้าต่างๆล้วนแล้วแต่เป็นของที่มีคุณภาพ จึงยังไม่สามารถหักล้างข้อเท็จจริงเรื่องที่ว่า ทาสชาวแอฟริกันมีการลำเลียงลูกๆของพวกเขาเองด้วย
John Newton ซึ่งเป็นกัปตันเรือขนทาสในช่วงปี 1747 กับ 1754 นั้น เขาได้เขียนในหนังสือ Thoughts Upon The African Slave Trade (1787) เอาไว้ว่า “โดยทั่วไปทาสจะถูกซื้อและก็ขายไป บางครั้งเมื่อมีสินค้าอื่นๆมามอบให้หรือมีเครดิตนั้น ทางด้านพ่อค้าก็เต็มใจที่จะปล่อยทาสคนนั้นไปฟรีๆ บางครั้งก็เป็นลูกๆของพวกเขา เป็นเชลยข้าศึกหรือเป็นตัวประกันในการแลกเปลี่ยน และในกรณีตัวอย่างหรือปกตินั้น ทางด้านเชลยข้าศึกมาและก็ถูกขายไป อย่างไรก็ตามก็เป็นเรื่องยากที่จะมีเงื่อนไขในการปล่อยตัวไปฟรีๆที่อาจเห็นว่ามีเงื่อนไขที่ไม่ยุติธรรม ยังมีกรณีตัวอย่างกัปตันที่ไร้คุณธรรมที่มักจะให้พวกทาสเดินทางไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุดและเมื่อพวกทาสไม่สามารถขึ้นชายฝั่งได้ ก็จะถูกจับขังหน่วงเหนี่ยวและก็ขังลืม จะปล่อยพวกทาสออกไปได้ถ้ามีเรือลำต่อไปรับช่วงต่อจากท่าเรือเดียวกัน ซึ่งถือว่ามีความเสี่ยงแต่ผมคิดและก็เชื่อว่าไม่น่าจะมีใครเขาทำกัน”
ในปี 1784 William Dillwyn ได้ร่วมตีพิมพ์หนังสือกับ John Lloyd ชื่อ The Case Of Our Fellow Creatures, The Oppressed Africans โดย Dillwyn ได้กล่าวว่า การค้าทาสเป็นตัวจุดชนวนสงครามระหว่างชนเผ่าแอฟริกัน “ความขัดแย้งนี้เป็นตัวจุดชนวนสงครามซึ่งทำให้ผู้คนกินอยู่อย่างไม่มีความสุขและผลลัพธ์ที่ออกนั้นก็เป็นเรื่องที่ช็อคต่อมนุษย์ชาติ โดยมีการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความรักที่มีต่อสามีภรรยาหรือพ่อแม่ลูก โดยทาสก็พร้อมที่จะเดินทางอย่างไม่เต็มใจซึ่งพวกเขาไม่มีวันย้อนเวลากลับไปเหมือนอดีต จะต้องเจอกับเหตุการณ์ที่ตึงเครียด ทึ่มทะลุหัวใจจนยากที่จะสลัดหลุดออกจากจิตใจมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดีนี่ก็เป็นจุดเริ่มต้นสำหรับทาสที่น่าสงสาร”
Hugh Crow ซึ่งเป็นกัปตันของ Elizabeth ก็ได้มาถึงที่ Annamaboe ในช่วงเดือนธันวาคม ปี 1790 โดยต่อมา Crow ได้กล่าวว่า “พวกเรามาทอดสมอทิ้งที่ Annamaboe ในเดือนธันวาคม ปี 1790 หลังจากที่ใช้เวลา 7 สัปดาห์ในการเดินทาง พวกเราก็ได้ทำการตระเวน 3 สัปดาห์โดยที่ไม่ได้มีการแลกเปลี่ยนซื้อขายอะไรเลย ทางด้านผู้นำก็ได้เสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ทำให้การค้าทำธุรกิจก็ถูกแช่แข็งชั่วคราว สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมอันเลวร้ายของประเทศที่ผู้นำมีภรรยาถึง 23 คนถูกทำให้เสียชีวิตในขณะที่พวกเราจำความได้ และไม่ต้องสงสัยเลยว่าคนส่วนใหญ่จะต้องเจอกับชะตากรรมแบบเดียวก่อนที่พวกเรามาถึง”
James Irving ซึ่งเป็นกัปตันเรือขนทาส The Ellen ที่ประจำอยู่ที่ท่าเรือลิเวอร์พลูนั้น Irving ได้เขียนจดหมายไปยังพ่อแม่ของเขาในวันที่ 2 มกราคม ปี 1791 ด้วยใจความดังนี้ว่า “พวกผมยุ่งมากกับการขนทาสลงเรือ พวกผมมุ่งหน้าไปยัง Annamaboe บริเวณชายฝั่ง Gold มีการระบายสินค้าต่างๆที่พวกเราอยากขายและก็ทำการล่องเรืออีกครั้งภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากที่พวกเราถึงฝั่งแล้ว จากนั้นพวกผมก็ได้เยือนที่ Lagos,Accra และที่อื่นๆที่ผมเองก็ลืมชื่อไปแล้ว จากนั้นพวกเราก็ล่องเรือไปยังแม่น้ำ Benin และก็พักเรือประมาณวันสองวันและจากนั้นก็กลับไปยัง Anomabo ซึ่งที่นั่นพวกผมได้ล่องเรือไปยังอินเดียตะวันตก” การมาถึงฝั่ง Annamaboe เมื่อวันที่ 5 เมษายน ปี 1791 ก่อนที่จะมุ่งไปยัง Lagos กับ Accra นั้น ตอนที่อยู่ชายฝั่ง Gold Irving ได้ขนทาสชาวแอฟริกัน 341 คนและก็นำทาส 88 คนขนย้ายไปยังเรือลำอื่น
Mungo Park ได้ทำการสำรวจแอฟริกาในปี 1795 เขาได้ประจันหน้ากับชนเผ่า Mandingo ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิ์มาลี ต่อมาเขาก็ได้กล่าวว่า ผู้คนส่วนใหญ่ที่เขาประจันหน้ากันเป็นทาส “ผมคาดว่าผู้คนไม่น่าจะถึง 1 ใน 4 เป็นคนท้องถิ่น และ 3 ใน 4 ก็ดูเหมือนจะเป็นคนที่สิ้นหวังกับชีวิตและดูแล้วเหมือนกับเป็นทาส และพวกเขาก็มีหน้าที่เพาะปลูก ทำปศุสัตว์ และก็เป็นทาสรับใช้ให้กับเจ้าหน้าที่ มีระบบแบบเดียวกับที่ทาสในอินเดียตะวันตก อย่างไรก็ตามผมก็อยากจะบอกว่า หัวหน้า Mandingo สามารถยึดทาสมาเป็นของตัวเองและไม่ขายให้กับคนแปลกหน้าโดยที่ไม่มีการเจรจาต่อรองอะไรก่อน พูดง่ายๆก็คือเขาจะให้ทาสทำการทดลองงานก่อน แต่ข้อตกลงนี้ก็ช่วยปกป้องทาสส่วนใหญ่เอาไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการปกป้องทาสไม่ให้ทำสงคราม และไม่ให้เป็นเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายจากการถูกใส่ร้ายป้ายสีหรือการเป็นบุคคลล้มละลาย และในไม่ช้าผู้คนส่วนใหญ่ต่างก็ไม่มีความสุขกับการถูกขายไปทำงานที่ประเทศอื่นๆ ซึ่งไม่มีการรับรองความปลอดภัย แต่ก็อาจจะมีการเลี้ยงดูปูเสื่ออย่างดีและมีความสมัครใจในการทำงานกับผู้ดูแลที่คิดดีทำดี บางครั้งก็เป็นเช่นนั้น จริงๆแล้วเมื่อไม่มีเรือลำไหนเข้าฝั่ง ก็จะมีการโน้มน้าวและให้ทางผู้ซื้อพิจารณาการซื้อขายทาส และรวมไปถึงทายาทของทาสด้วย หากว่าทาสไม่มีพ่อแม่ ก็จะได้สิทธิพิเศษในการเป็นไท
Alexander Falcolnbridge เป็นศัลยแพทย์บนเรือขนทาสจาก Bristol เขาได้เขียนประสบการณ์ของเขาในหนังสือ An Account Of The Slave Trade On The Coast Of Africa เอาไว้ว่า “เมื่อคนผิวดำซึ่งเป็นพ่อค้าผิวดำได้ทำการตกลงซื้อขายทาสกับชาวยุโรปนั้น อันดับแรกพวกเขาจะทำการประเมินทาสว่ามีอายุเท่าไร จากนั้นพวกเขาก็ทำการตรวจสอบแต่ละคนและสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพของพวกเขา หากพวกเขาเจ็บไข้ได้ป่วยขึ้นมา หรือมีร่างกายทุพพลภาพ หรือมีดวงตาไม่ดีหรือฟันไม่ดี หากพวกเขามีความบกพร่องทางร่างกายหรืออ่อนแอ หรือหลังงอ หรือผอมบางหรือมีหน้าอกไม่แน่นพอ หากพวกเขาเจ็บป่วยจนไม่ได้เป็นที่ยอมรับในแรงงาน ทางด้านพ่อค้าบ่อยครั้งก็จะลงโทษคนผิวดำที่คัดค้านหัวหน้า ในกรณีส่วนใหญ่ก็มักจะลงโทษโดยพ่อค้า เมื่อคนผิวดำคัดค้านก็จะถูกตัดหัวเพื่อไม่ให้เอาเป็นเยี่ยงอย่าง”
Offobah Cugoano เป็นทาสหนุ่มคนหนึ่งที่ถูกจับมาจากแอฟริกาได้กล่าวว่า “ผมถูกลักพาตัวจากประเทศบ้านเกิดของผมเอง มีทั้งคนหนุ่มสาวอายุ 18-20 ปี ซึ่งตอนนั้นพวกเราก็ยังเดินเล่นบริเวณสวน พวกเรากินดีอยู่ดีแต่เพียงไม่กี่วันหลังจากนั้นพวกเราก็ถูกลักพาตัวบริเวณจากชายฝั่ง และถูกส่งมอบไปยัง Grenada ในไม่ช้าพวกเราก็นำพาไปยังสถานที่ที่พวกเราเองก็ไม่รู้จัก และจนถึงช่วงเย็นพวกเราก็ถูกพาเข้าไปในเมือง ต่อมาผมก็ถูกควบคุมขังคุก 3 วันผมก็เริ่มได้ยินเสียงโอดครวญและร้องไห้จำนวนมาก และก็เห็นเพื่อนๆบางคนของผมอยู่ในสภาพเดียวกัน เป็นเหตุการณ์ที่หลอนมาก ข้างนอกก็ไม่ได้ยินเสียงอะไร แต่จะมีเพียงแค่เสียงโซ่ลาก เสียงหวดแส้ และเสียงโอดครวญกับเสียงร้องไห้จากเพื่อนๆของผม บางคนก็ไม่สามารถนั่งลงบนพื้นได้จากการที่พวกเขาถูกเฆี่ยนและถูกทำร้ายร่างกายด้วยวิธีการที่ทารุณ”
ระบบการค้าทาสชาวแอฟริกัน
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 14 ชาวยุโรปก็เริ่มใช้แรงงานชาวแอฟริกัน ในเริ่มแรกนั้นพวกเขาเป็นคนรับใช้ให้กับคนรวย ชาวยุโรปอ้างว่า การนำทาสชาวแอฟริกันมาเป็นขี้ข้ารับใช้นั้น เพื่อที่จะทำให้พวกเขาเป็นชาวคริสเตียน ในช่วงศตวรรษที่ 17 ก็ได้มีการนำชาวแอฟริกันเข้าพิธีศักดิ์สิทธิ์เพื่อที่จะทำให้พวกเขาเป็นคริสเตียนได้อย่างเต็มตัว
แม้ว่ากัปตันเรือสเปนกับโปรตุเกสได้เริ่มสำรวจแถบอเมริกาแล้วพบว่า ชาวอเมริกันมีชาวแอฟริกันเป็นทาสรับใช้ ประเด็นที่สำคัญก็คือมีชาวแอฟริกันบางคนเป็นนักสำรวจที่ดี หนึ่งในนั้นก็คือ Estevanico ซึ่งเป็นคนแรกที่เดินทางไปยังนิวเม็กซิโกกับแอริโซนา
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในอเมริกาก็ได้ทำการต่อต้านการเข้ามาของชาวยุโรปที่พยายามครอบครองผืนแผ่นดินของพวกเขา เหตุการณ์ที่สำคัญเหตุการณ์หนึ่งก็เกิดขึ้นในประเทศคิวบาเมื่อปี 1512 ฝ่ายต่อต้านที่นำโดย Hatuey สอดคล้องกับ Hatuey ที่กล่าวว่า “พวกเขาบอกเราว่า ทรราชพวกนี้บูชาเทพเจ้าแห่งสันติและความเท่าเทียมกัน และตราบใดที่พวกเขายังแย่งชิงผืนแผ่นดินของพวกเราและทำให้พวกเราเป็นทาสอยู่นั้น พวกเขาก็มักจะบอกกับพวกเราเกี่ยวกับจิตวิญญาณและผลตอบแทนและการลงโทษอย่างไม่รู้จักจบสิ้น และตราบใดที่พวกเขาปล้นพวกเราแบบนี้ต่อไป มีการละเมิดทางเพศผู้หญิงของพวกเรา กระทำรุนแรงต่อลูกๆของพวกเรา มองพวกเราเป็นพวกขี้ขลาดตาขาว กระทำกับพวกอ่อนแออย่างพวกเราแล้วล่ะก็ พวกขี้ขลาดตาขาวพวกนี้มักจะกดขี่ข่มเหงพวกเราไม่รู้จักจบสิ้น”
ในที่สุด Diego Velazquez ก็สามารถปราบกลุ่มกบฏลงไปได้ เขาได้ทำการจับกุม Hatuey และได้ทำการประหารชีวิตเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ปี 1512 ประเมินได้ว่ามีผู้คนหลายล้านคนในประเทศคิวบาก่อนที่จะมีชาวยุโรปเข้ามาอพยพ ใน 25 ปีต่อมาก็มีผู้คนออกจากประเทศเพียงแค่ 2000 คนเท่านั้น โดยส่วนใหญ่ถูกสังหาร ในขณะที่คนอื่นๆเสียชีวิตจากภาวะขาดแคลนอาหาร เป็นโรค ฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตจากการทำงานหนักเป็นเวลาหลายชั่วโมงในเหมืองแร่ทองคำ
หลังจากที่ชาวยุโรปเข้ามาอพยพแล้ว ก็เป็นที่แน่นอนว่าเป็นประชากรส่วนน้อยในเกาะแถบทะเลแคริบเบียน นี่ถือเป็นการสร้างปัญหาของชาวยุโรปจากการที่พวกเขาต้องการแรงงานในการหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สุดท้ายชาวยุโรปก็มาพร้อมกับปัญหาก็คือ มีการสร้าทาสชาวแอฟริกันขึ้นมา ในปี 1540 ประเมินได้ว่ามีทาสจำนวน 1 หมื่นคนต่อไปมาจากแอฟริกันเข้ามาแทนที่พลเมืองในแถบนั้นๆ
สอดคล้องกับ Suzanne Schwarz ซึ่งเป็นผู้เขียน Slave Captain : The Career Of James Irving In The Liverpool Slave Trade (1995) ที่กล่าวเอาไว้ว่า “การลำเลียงค้ามนุษย์มีอยู่ทั่วโลกและมีอยู่ทุกๆประเทศ ซึ่งล้วนแล้วมีส่วนเกี่ยวข้องอิทธิพลในแถบยุโรป ทั้งจากสเปนและโปรตุเกสจนถึงฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน นอร์เวย์หรือแม้แต่บรันเดนบูร์ก มีการลำเลียงทาสกว่า 3 หมื่น 7 พันคนเข้ามาที่ท่าเรือในแถบฝั่งแอกแลนติกในช่วงศตวรรษที่ 16 ถึงช่วงกลางๆศตวรรษที่ 19 และมีการลำเลียงทาสซึ่งประเมินได้ว่าผู้คน 11 ล้านคนเป็นชาวแอฟริกัน
พ่อค้าชาวอังกฤษหลายคนก็มีส่วนเกี่ยวข้องในการค้าทาสและสุดท้ายก็ได้ครองตลาดค้าทาส ซึ่งทาง West Indian Atas ก็ได้อธิบายในปี 1796 ว่า “ทุกๆปีจะมีทาสประมาณ 7 หมื่น 2 พันคนที่มาจากประเทศแอฟริกาย้ายมายังอินเดียตะวันตก โดยมีทาสจำนวน 3 หมื่นคนจากชนเดนส์ 7 พันคนเป็นชาวฮอลันดา 1 หมื่น 8 พันคนเป็นชาวฝรั่งเศส อีก 8 พันคนเป็นชาวโปรตุเกส ซึ่งทุกๆคนล้วนพูดภาษาอังกฤษได้”
ชาวอังกฤษได้สร้างท่าเรือชายฝั่งในแอฟริกาเพื่อที่พวกเขาจะทำการจับกุมชาวแอฟริกันเข้าเรือลำเลียงทาสได้ ทางด้านพ่อค้าหลายคนก็ได้ใช้งานทาสชาวแอฟริกันในการลำเลียงสินค้าเข้าสู่ยุโรป ในตอนแรกนั้นทาสจะมาจากการจับกุมเป็นเชลยศึกจากสงคราม อย่างไรก็ตามทาสก็เริ่มมีการจัดระเบียบให้เป็นระบบมากขึ้นเพื่อที่จะรองรับคนรุ่นใหม่ชาวแอฟริกัน
มีการประเมินกันว่า มีทาสกว่า 326000 คนมาจาก Bight Of Bonny ระหว่างในช่วงปี 1780 กับ 1800 มีชาวแอฟริกันกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ถูกลำเลียงจากเรืออังกฤษ ส่วนใหญ่มีท่าอยู่ที่ลิเวอร์พลู ศัลยแพทย์เรือขนทาส Alexander Falconbridge ได้รายงานในปี 1790 ว่า มีสินค้าหลายอย่างที่แลกกับทาสซึ่งประกอบไปด้วยอาวุธปืน ดินปืน สิ่งทอ เหล็กบาร์และเหล้าบรั่นดี มีสินอื่นๆซึ่งก็รวมไปถึงทองแดง ทองเหลืองและก็โลหะชนิดอื่นๆ ทางด้าน Paul Lovejoy ซึ่งเป็นผู้เขียนหนังสือ Transformations In Slavery : A History Of Slavery In Africa (1983) ได้โต้แย้งว่า สินค้าต่างๆล้วนแล้วแต่เป็นของที่มีคุณภาพ จึงยังไม่สามารถหักล้างข้อเท็จจริงเรื่องที่ว่า ทาสชาวแอฟริกันมีการลำเลียงลูกๆของพวกเขาเองด้วย
John Newton ซึ่งเป็นกัปตันเรือขนทาสในช่วงปี 1747 กับ 1754 นั้น เขาได้เขียนในหนังสือ Thoughts Upon The African Slave Trade (1787) เอาไว้ว่า “โดยทั่วไปทาสจะถูกซื้อและก็ขายไป บางครั้งเมื่อมีสินค้าอื่นๆมามอบให้หรือมีเครดิตนั้น ทางด้านพ่อค้าก็เต็มใจที่จะปล่อยทาสคนนั้นไปฟรีๆ บางครั้งก็เป็นลูกๆของพวกเขา เป็นเชลยข้าศึกหรือเป็นตัวประกันในการแลกเปลี่ยน และในกรณีตัวอย่างหรือปกตินั้น ทางด้านเชลยข้าศึกมาและก็ถูกขายไป อย่างไรก็ตามก็เป็นเรื่องยากที่จะมีเงื่อนไขในการปล่อยตัวไปฟรีๆที่อาจเห็นว่ามีเงื่อนไขที่ไม่ยุติธรรม ยังมีกรณีตัวอย่างกัปตันที่ไร้คุณธรรมที่มักจะให้พวกทาสเดินทางไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุดและเมื่อพวกทาสไม่สามารถขึ้นชายฝั่งได้ ก็จะถูกจับขังหน่วงเหนี่ยวและก็ขังลืม จะปล่อยพวกทาสออกไปได้ถ้ามีเรือลำต่อไปรับช่วงต่อจากท่าเรือเดียวกัน ซึ่งถือว่ามีความเสี่ยงแต่ผมคิดและก็เชื่อว่าไม่น่าจะมีใครเขาทำกัน”
ในปี 1784 William Dillwyn ได้ร่วมตีพิมพ์หนังสือกับ John Lloyd ชื่อ The Case Of Our Fellow Creatures, The Oppressed Africans โดย Dillwyn ได้กล่าวว่า การค้าทาสเป็นตัวจุดชนวนสงครามระหว่างชนเผ่าแอฟริกัน “ความขัดแย้งนี้เป็นตัวจุดชนวนสงครามซึ่งทำให้ผู้คนกินอยู่อย่างไม่มีความสุขและผลลัพธ์ที่ออกนั้นก็เป็นเรื่องที่ช็อคต่อมนุษย์ชาติ โดยมีการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความรักที่มีต่อสามีภรรยาหรือพ่อแม่ลูก โดยทาสก็พร้อมที่จะเดินทางอย่างไม่เต็มใจซึ่งพวกเขาไม่มีวันย้อนเวลากลับไปเหมือนอดีต จะต้องเจอกับเหตุการณ์ที่ตึงเครียด ทึ่มทะลุหัวใจจนยากที่จะสลัดหลุดออกจากจิตใจมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดีนี่ก็เป็นจุดเริ่มต้นสำหรับทาสที่น่าสงสาร”
Hugh Crow ซึ่งเป็นกัปตันของ Elizabeth ก็ได้มาถึงที่ Annamaboe ในช่วงเดือนธันวาคม ปี 1790 โดยต่อมา Crow ได้กล่าวว่า “พวกเรามาทอดสมอทิ้งที่ Annamaboe ในเดือนธันวาคม ปี 1790 หลังจากที่ใช้เวลา 7 สัปดาห์ในการเดินทาง พวกเราก็ได้ทำการตระเวน 3 สัปดาห์โดยที่ไม่ได้มีการแลกเปลี่ยนซื้อขายอะไรเลย ทางด้านผู้นำก็ได้เสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ทำให้การค้าทำธุรกิจก็ถูกแช่แข็งชั่วคราว สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมอันเลวร้ายของประเทศที่ผู้นำมีภรรยาถึง 23 คนถูกทำให้เสียชีวิตในขณะที่พวกเราจำความได้ และไม่ต้องสงสัยเลยว่าคนส่วนใหญ่จะต้องเจอกับชะตากรรมแบบเดียวก่อนที่พวกเรามาถึง”
James Irving ซึ่งเป็นกัปตันเรือขนทาส The Ellen ที่ประจำอยู่ที่ท่าเรือลิเวอร์พลูนั้น Irving ได้เขียนจดหมายไปยังพ่อแม่ของเขาในวันที่ 2 มกราคม ปี 1791 ด้วยใจความดังนี้ว่า “พวกผมยุ่งมากกับการขนทาสลงเรือ พวกผมมุ่งหน้าไปยัง Annamaboe บริเวณชายฝั่ง Gold มีการระบายสินค้าต่างๆที่พวกเราอยากขายและก็ทำการล่องเรืออีกครั้งภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากที่พวกเราถึงฝั่งแล้ว จากนั้นพวกผมก็ได้เยือนที่ Lagos,Accra และที่อื่นๆที่ผมเองก็ลืมชื่อไปแล้ว จากนั้นพวกเราก็ล่องเรือไปยังแม่น้ำ Benin และก็พักเรือประมาณวันสองวันและจากนั้นก็กลับไปยัง Anomabo ซึ่งที่นั่นพวกผมได้ล่องเรือไปยังอินเดียตะวันตก” การมาถึงฝั่ง Annamaboe เมื่อวันที่ 5 เมษายน ปี 1791 ก่อนที่จะมุ่งไปยัง Lagos กับ Accra นั้น ตอนที่อยู่ชายฝั่ง Gold Irving ได้ขนทาสชาวแอฟริกัน 341 คนและก็นำทาส 88 คนขนย้ายไปยังเรือลำอื่น
Mungo Park ได้ทำการสำรวจแอฟริกาในปี 1795 เขาได้ประจันหน้ากับชนเผ่า Mandingo ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิ์มาลี ต่อมาเขาก็ได้กล่าวว่า ผู้คนส่วนใหญ่ที่เขาประจันหน้ากันเป็นทาส “ผมคาดว่าผู้คนไม่น่าจะถึง 1 ใน 4 เป็นคนท้องถิ่น และ 3 ใน 4 ก็ดูเหมือนจะเป็นคนที่สิ้นหวังกับชีวิตและดูแล้วเหมือนกับเป็นทาส และพวกเขาก็มีหน้าที่เพาะปลูก ทำปศุสัตว์ และก็เป็นทาสรับใช้ให้กับเจ้าหน้าที่ มีระบบแบบเดียวกับที่ทาสในอินเดียตะวันตก อย่างไรก็ตามผมก็อยากจะบอกว่า หัวหน้า Mandingo สามารถยึดทาสมาเป็นของตัวเองและไม่ขายให้กับคนแปลกหน้าโดยที่ไม่มีการเจรจาต่อรองอะไรก่อน พูดง่ายๆก็คือเขาจะให้ทาสทำการทดลองงานก่อน แต่ข้อตกลงนี้ก็ช่วยปกป้องทาสส่วนใหญ่เอาไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการปกป้องทาสไม่ให้ทำสงคราม และไม่ให้เป็นเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายจากการถูกใส่ร้ายป้ายสีหรือการเป็นบุคคลล้มละลาย และในไม่ช้าผู้คนส่วนใหญ่ต่างก็ไม่มีความสุขกับการถูกขายไปทำงานที่ประเทศอื่นๆ ซึ่งไม่มีการรับรองความปลอดภัย แต่ก็อาจจะมีการเลี้ยงดูปูเสื่ออย่างดีและมีความสมัครใจในการทำงานกับผู้ดูแลที่คิดดีทำดี บางครั้งก็เป็นเช่นนั้น จริงๆแล้วเมื่อไม่มีเรือลำไหนเข้าฝั่ง ก็จะมีการโน้มน้าวและให้ทางผู้ซื้อพิจารณาการซื้อขายทาส และรวมไปถึงทายาทของทาสด้วย หากว่าทาสไม่มีพ่อแม่ ก็จะได้สิทธิพิเศษในการเป็นไท
Alexander Falcolnbridge เป็นศัลยแพทย์บนเรือขนทาสจาก Bristol เขาได้เขียนประสบการณ์ของเขาในหนังสือ An Account Of The Slave Trade On The Coast Of Africa เอาไว้ว่า “เมื่อคนผิวดำซึ่งเป็นพ่อค้าผิวดำได้ทำการตกลงซื้อขายทาสกับชาวยุโรปนั้น อันดับแรกพวกเขาจะทำการประเมินทาสว่ามีอายุเท่าไร จากนั้นพวกเขาก็ทำการตรวจสอบแต่ละคนและสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพของพวกเขา หากพวกเขาเจ็บไข้ได้ป่วยขึ้นมา หรือมีร่างกายทุพพลภาพ หรือมีดวงตาไม่ดีหรือฟันไม่ดี หากพวกเขามีความบกพร่องทางร่างกายหรืออ่อนแอ หรือหลังงอ หรือผอมบางหรือมีหน้าอกไม่แน่นพอ หากพวกเขาเจ็บป่วยจนไม่ได้เป็นที่ยอมรับในแรงงาน ทางด้านพ่อค้าบ่อยครั้งก็จะลงโทษคนผิวดำที่คัดค้านหัวหน้า ในกรณีส่วนใหญ่ก็มักจะลงโทษโดยพ่อค้า เมื่อคนผิวดำคัดค้านก็จะถูกตัดหัวเพื่อไม่ให้เอาเป็นเยี่ยงอย่าง”
Offobah Cugoano เป็นทาสหนุ่มคนหนึ่งที่ถูกจับมาจากแอฟริกาได้กล่าวว่า “ผมถูกลักพาตัวจากประเทศบ้านเกิดของผมเอง มีทั้งคนหนุ่มสาวอายุ 18-20 ปี ซึ่งตอนนั้นพวกเราก็ยังเดินเล่นบริเวณสวน พวกเรากินดีอยู่ดีแต่เพียงไม่กี่วันหลังจากนั้นพวกเราก็ถูกลักพาตัวบริเวณจากชายฝั่ง และถูกส่งมอบไปยัง Grenada ในไม่ช้าพวกเราก็นำพาไปยังสถานที่ที่พวกเราเองก็ไม่รู้จัก และจนถึงช่วงเย็นพวกเราก็ถูกพาเข้าไปในเมือง ต่อมาผมก็ถูกควบคุมขังคุก 3 วันผมก็เริ่มได้ยินเสียงโอดครวญและร้องไห้จำนวนมาก และก็เห็นเพื่อนๆบางคนของผมอยู่ในสภาพเดียวกัน เป็นเหตุการณ์ที่หลอนมาก ข้างนอกก็ไม่ได้ยินเสียงอะไร แต่จะมีเพียงแค่เสียงโซ่ลาก เสียงหวดแส้ และเสียงโอดครวญกับเสียงร้องไห้จากเพื่อนๆของผม บางคนก็ไม่สามารถนั่งลงบนพื้นได้จากการที่พวกเขาถูกเฆี่ยนและถูกทำร้ายร่างกายด้วยวิธีการที่ทารุณ”