อย่างเรื่องเสียงข้างมาก
พอแพ้เลือกตั้ง สลิ่มก็สร้างตรรกะเสียงข้างมากต้องฟังเสียงข้างน้อย เสียงข้างน้อยมีคุณภาพกว่าเสียงข้างมาก
แต่พอชนะผลประชามติ สลิ่มก็พลิกตรรกะกลับทันทีว่า ต้องรับฟังเสียงข้างมากของประชาชน
หรืออย่างตอนเป็นรัฐบาล ก็มีตรรกะเชื่อมั่นในระบบรัฐสภา พอเป็นฝ่ายค้านก็กลายเป็นเผด็จการรัฐสภา
เหมือนตอนนี้ ที่พอติดคุก ก็สร้างตรรกะเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมขึ้นมาทันที
ทั้งที่คนละเรื่อง คนละทีป
จะเชื่อหรือไม่เชื่อกระบวนการยุติธรรม หากทำผิด ก็ติดคุกทั้งนั้น
ไม่เกี่ยวอะไรเลยกับความเชื่อมั่น
หากจะบอกว่าเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม มันควรเป็นเรื่องว่า
ไม่ได้ทำผิด โดนฟ้อง เข้าสู่กระบวนการด้วยความเชื่อมั่นว่าจะได้รับความเป็นธรรม ได้รับความยุติธรรม
ไม่ใช่ทำผิด โดนจับได้คาหนังคาเขา สู้ในข้อเท็จจริงไม่ได้ จนต้องรับสารภาพ
แล้วมาอ้าง ยอมติดคุกเพราะเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรม
ตรรกะพิลึกสิ้นดี
ตรรกะกลับหัวกลับหางจากสลิ่มห่าน
คนหนึ่ง ถึงวันนี้ ยังไม่มีใครอธิบายได้ชัด ๆ ว่า ผิดตรงไหน ยังไง
ยิ่งหากมองถึงเรื่องเจตนาทำผิด ยิ่งมองไม่เห็น
ทำการประมูล จ่ายเงิน โอนกรรมสิทธิ์ เรียบร้อยตั้งแต่ปี 2546
พอรัฐประหาร 2549 ก็ขุดเรื่องขึ้นมาเล่นงาน
เห็นช่องว่า เซ็นยินยอมให้เมียทำนิติกรรมซื้อขาย โอนที่ดิน หลังจากที่เมียประมูลชนะอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
(ทั้งที่หากไม่เซ็นยินยอม เมียก็สามารถทำการซื้อขาย โอนได้ ไม่มีปัญหา)
ก็ซัดทันทีว่า ผิดกฎหมาย จำคุก 2 ปี
ก่อนหน้านั้น ทำไมไม่มีใครมองเห็นความผิด ทั้งที่เป็นเรื่องเปิดเผย รู้กันทั้งเมือง
อย่างนี้ จะมีใครยอมรับ จะมีใครยอมติดคุก หนีได้เป็นหนีทั้งนั้น
จะมาเป็นตรรกะไม่เคารพกระบวนการยุติธรรมได้อย่างไร ในเมื่อเห็น ๆ อยู่ว่า ไม่เป็นธรรม
จะเป็นเรื่องศักดิ์ศรี จะเป็นเรื่องคนจริงคนกล้าได้อย่างไร ในเมื่อไม่ได้ทำผิด แต่โดนยัดผิด
โดนยัดคุกทั้งที่ไม่ได้ทำผิด ก็ต้องยอมเข้าคุก แล้วได้ชื่อว่าเป็นคนเคารพกระบวนการ เป็นคนกล้าหาญอย่างนั้นหรือ ?
กับอีกคนหนึ่ง ที่ทำผิดซ้ำซากในเวลาเป็นปี ๆ หลายกรรม
ตั้งแต่ 29 เมษายน 2539 จนถึง 18 พฤศจิกายน 2541
ปลอมเอกสารค้ำประกัน ปกปิดแก้ไขบัญชีบริษัท กู้เงินธนาคาร 6 ครั้ง ได้เงินเข้ากระเป๋าไป 1,078 ล้านบาท
เป็นกรรมการบริษัทผู้ค้ำ เป็นกรรมการบริษัทผู้กู้ ปลอมเอง ค้ำเอง กู้เอง รับตังค์เอง และติดคุกเอง
ผิดกฎหมายอาญาหลายมาตรา ผิดกฎหมายตลาดหลักทรัพย์หลายมาตรา
เป็นความผิดรวมทั้งสิ้น 17 กระทง
วันอัยการนำตัวส่งฟ้องต่อศาล ยังให้การปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา
พอถึงขั้นตอนพิจารณาคีดในชั้นศาล(ชั้นต้น) ก็ขอถอนคำให้การ เปลี่ยนเป็นรับสารภาพ
เพราะไม่สามารถหาหลักฐานหรือพยานใด ๆ มาสนับสนุนคำปฏิเสธของตนเองได้
ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา พิพากษาแนวทางเดียวกันหมด คือผิดทุกกระทง จำคุก 85 ปี
สารภาพ ลดครึ่ง เหลือ 42 ปี 6 เดือน
แต่กฎหมายบอกว่า ในความผิดเดียวกัน หลายกระทง เมื่อรวมกันแล้วจำคุกได้ไม่เกิน 20 ปี
ก็รับไปเต็ม ๆ 20 ปี
หนีไม่รอด ไม่มีช่องทางสู้คดี จำนนต่อหลักฐาน
แล้วจะกลายเป็นการเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมได้ยังไง
เชื่อมั่นแบบไหน ?
แบบว่า ฉันทำผิดนะ ฉันเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรมว่า ตัดสินให้ฉันติดคุกแน่ ๆ
ยังงั้นเหรอ ?
ปฏิเสธการกระทำผิด แต่สุดท้าย ดิ้นไม่ออก ก็ยอมรับสารภาพ กลายเป็นคนกล้าได้ยังไง ?
คนหนึ่งโดนยัดคดี ยัดคุก ไม่ยอมรับ ไม่ยอมติดคุก
เมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม ก็ปฏิเสธกระบวนการ กลายเป็นคนไม่เคารพกระบวนการ ไม่กล้าหาญ
คนหนึ่งทำผิดหนัก ไม่ใช่การยัดข้อหา ไม่ใช่การยัดคุก
จำนวนต่อหลักฐาน ปฏิเสธไม่ออก ต้องยอมสารภาพ โดนพิพากษาจำคุก กลายเป็นคนเคารพกระบวนการ เป็นคนกล้าหาญ
กลับหัวกลับหางพิลึกครับ
สลิ่มนี่ เขามีตรรกะที่กลับหัวกลับหางพิลึกนะครับ คือสลิ่มมักคิดอะไร ๆ พิลึก ๆ สวนทางกับความคิดที่คนปกติเขาคิดกัน
พอแพ้เลือกตั้ง สลิ่มก็สร้างตรรกะเสียงข้างมากต้องฟังเสียงข้างน้อย เสียงข้างน้อยมีคุณภาพกว่าเสียงข้างมาก
แต่พอชนะผลประชามติ สลิ่มก็พลิกตรรกะกลับทันทีว่า ต้องรับฟังเสียงข้างมากของประชาชน
หรืออย่างตอนเป็นรัฐบาล ก็มีตรรกะเชื่อมั่นในระบบรัฐสภา พอเป็นฝ่ายค้านก็กลายเป็นเผด็จการรัฐสภา
เหมือนตอนนี้ ที่พอติดคุก ก็สร้างตรรกะเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมขึ้นมาทันที
ทั้งที่คนละเรื่อง คนละทีป
จะเชื่อหรือไม่เชื่อกระบวนการยุติธรรม หากทำผิด ก็ติดคุกทั้งนั้น
ไม่เกี่ยวอะไรเลยกับความเชื่อมั่น
หากจะบอกว่าเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม มันควรเป็นเรื่องว่า
ไม่ได้ทำผิด โดนฟ้อง เข้าสู่กระบวนการด้วยความเชื่อมั่นว่าจะได้รับความเป็นธรรม ได้รับความยุติธรรม
ไม่ใช่ทำผิด โดนจับได้คาหนังคาเขา สู้ในข้อเท็จจริงไม่ได้ จนต้องรับสารภาพ
แล้วมาอ้าง ยอมติดคุกเพราะเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรม
ตรรกะพิลึกสิ้นดี
ตรรกะกลับหัวกลับหางจากสลิ่มห่าน
คนหนึ่ง ถึงวันนี้ ยังไม่มีใครอธิบายได้ชัด ๆ ว่า ผิดตรงไหน ยังไง
ยิ่งหากมองถึงเรื่องเจตนาทำผิด ยิ่งมองไม่เห็น
ทำการประมูล จ่ายเงิน โอนกรรมสิทธิ์ เรียบร้อยตั้งแต่ปี 2546
พอรัฐประหาร 2549 ก็ขุดเรื่องขึ้นมาเล่นงาน
เห็นช่องว่า เซ็นยินยอมให้เมียทำนิติกรรมซื้อขาย โอนที่ดิน หลังจากที่เมียประมูลชนะอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
(ทั้งที่หากไม่เซ็นยินยอม เมียก็สามารถทำการซื้อขาย โอนได้ ไม่มีปัญหา)
ก็ซัดทันทีว่า ผิดกฎหมาย จำคุก 2 ปี
ก่อนหน้านั้น ทำไมไม่มีใครมองเห็นความผิด ทั้งที่เป็นเรื่องเปิดเผย รู้กันทั้งเมือง
อย่างนี้ จะมีใครยอมรับ จะมีใครยอมติดคุก หนีได้เป็นหนีทั้งนั้น
จะมาเป็นตรรกะไม่เคารพกระบวนการยุติธรรมได้อย่างไร ในเมื่อเห็น ๆ อยู่ว่า ไม่เป็นธรรม
จะเป็นเรื่องศักดิ์ศรี จะเป็นเรื่องคนจริงคนกล้าได้อย่างไร ในเมื่อไม่ได้ทำผิด แต่โดนยัดผิด
โดนยัดคุกทั้งที่ไม่ได้ทำผิด ก็ต้องยอมเข้าคุก แล้วได้ชื่อว่าเป็นคนเคารพกระบวนการ เป็นคนกล้าหาญอย่างนั้นหรือ ?
กับอีกคนหนึ่ง ที่ทำผิดซ้ำซากในเวลาเป็นปี ๆ หลายกรรม
ตั้งแต่ 29 เมษายน 2539 จนถึง 18 พฤศจิกายน 2541
ปลอมเอกสารค้ำประกัน ปกปิดแก้ไขบัญชีบริษัท กู้เงินธนาคาร 6 ครั้ง ได้เงินเข้ากระเป๋าไป 1,078 ล้านบาท
เป็นกรรมการบริษัทผู้ค้ำ เป็นกรรมการบริษัทผู้กู้ ปลอมเอง ค้ำเอง กู้เอง รับตังค์เอง และติดคุกเอง
ผิดกฎหมายอาญาหลายมาตรา ผิดกฎหมายตลาดหลักทรัพย์หลายมาตรา
เป็นความผิดรวมทั้งสิ้น 17 กระทง
วันอัยการนำตัวส่งฟ้องต่อศาล ยังให้การปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา
พอถึงขั้นตอนพิจารณาคีดในชั้นศาล(ชั้นต้น) ก็ขอถอนคำให้การ เปลี่ยนเป็นรับสารภาพ
เพราะไม่สามารถหาหลักฐานหรือพยานใด ๆ มาสนับสนุนคำปฏิเสธของตนเองได้
ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา พิพากษาแนวทางเดียวกันหมด คือผิดทุกกระทง จำคุก 85 ปี
สารภาพ ลดครึ่ง เหลือ 42 ปี 6 เดือน
แต่กฎหมายบอกว่า ในความผิดเดียวกัน หลายกระทง เมื่อรวมกันแล้วจำคุกได้ไม่เกิน 20 ปี
ก็รับไปเต็ม ๆ 20 ปี
หนีไม่รอด ไม่มีช่องทางสู้คดี จำนนต่อหลักฐาน
แล้วจะกลายเป็นการเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมได้ยังไง
เชื่อมั่นแบบไหน ?
แบบว่า ฉันทำผิดนะ ฉันเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรมว่า ตัดสินให้ฉันติดคุกแน่ ๆ
ยังงั้นเหรอ ?
ปฏิเสธการกระทำผิด แต่สุดท้าย ดิ้นไม่ออก ก็ยอมรับสารภาพ กลายเป็นคนกล้าได้ยังไง ?
คนหนึ่งโดนยัดคดี ยัดคุก ไม่ยอมรับ ไม่ยอมติดคุก
เมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม ก็ปฏิเสธกระบวนการ กลายเป็นคนไม่เคารพกระบวนการ ไม่กล้าหาญ
คนหนึ่งทำผิดหนัก ไม่ใช่การยัดข้อหา ไม่ใช่การยัดคุก
จำนวนต่อหลักฐาน ปฏิเสธไม่ออก ต้องยอมสารภาพ โดนพิพากษาจำคุก กลายเป็นคนเคารพกระบวนการ เป็นคนกล้าหาญ
กลับหัวกลับหางพิลึกครับ