คนสมัยก่อน บ้าคัมภีร์กันมากทีเดียว

เรียกรวมๆ ว่า คัมภีร์หรือตำรา พิชัยสงคราม ก็ว่าได้
สมัยนั้น ไม่ว่า พวกเปอร์เซีย เช่น คัมภีร์อเวสตะ ปุราณะ ฤคเวท
ละโว้ -เขมร ก็น่าจะเป็น คัมภีร์ฤคเวท (ไสยศาสตร์)
ลี,หลี่ เฮา แห่งไตเวียด ก็ บ้าคัมภีร์จีน เช่น อี้จิง
คนจีนไม่ต้องถาม คัมภีร์ประหลาดๆ มีเยอะ
ขนาดยุคฮิตเล่อร์ยังส่งทหารมาตามพวกคัมภีร์ประหลาดๆ แถบจีน แถบทิเบต

ถ้าหากสมัยนี้ขอให้เก่งคัมภีร์เขียน โปรแกรมเชิงวัตถุ(Object-oriented programming, OOP)หรือซิมูเลเตอร์ ได้ก็คงได้เป็น ซักเกอร์เบิร์ก หรือ ลารี่เพจ

ตัวอย่างของเวียดนาม
(เอกสารราชวงศ์หมิง(ค.ศ. 1368-1644) ฉบับแปลเป็นภาษาไทย คำว่า "หล่านนา" ซึ่งหมายถึง "ล้านนา" จากเอกสารนี้ เป็นหลักฐานหนึ่งที่เชื่อว่าเริ่มมีการใช้คำว่า "ล้านนา" ในสมัยพระเจ้าติโลกราช)


กรณีคำว่า พรยา(วรย) ในคำสันสกฤตหรือป่านหยา ในภาษาจีน   ถอดเสียงได้คำว่า ปัญญา(บาลี)  ในปัจจุบันอีกด้วย
พรยา พระยา หรือ เปรียะยา ในการออกเสียงแบบเขมร
พญา ในการเขียนรูปแบบ ไทลื้อ และชาวลัวะมอญ(มอย)

กรณี คำว่า มอญ หรือ มอย     แกวประกัน(แกวพุกาม)ในเวียดนาม  หมายถึง พวกมอย หรือ ม้อย

ศาสตราจารย์ ดร.คุณบรรจบ พันธุเมธา ได้พบว่า คำที่มี ญ สะกดบางคำในภาษาไทยใหญ่ออกเสียง ย คำเหล่านี้ล้วนมีสระเป็น อุ หรือ โอะ เช่น
ขุญ ออกเสียง ขุย แปลว่าเปิด ออกเสียง โขย แปลว่า เขย
กุญ ออกเสียง กุ๋ย แปลว่า ฝ้าย ออกเสียง โก้ย แปลว่ากล้วย
ญ สะกดมีสระเป็นอิซึ่งออกเสียงเป็น เอะ หรือ แอะ จะออกเสียง ญ เป็น น เช่น
ติญ ออกเสียง เต้น แปลว่าเต้น ออกเสียง แต๋น แปลว่า แตน
ชวนให้คิดว่าไทยเคยออกเสียงคำที่มี ญ สะกดเหมือนคำที่มี ย สะกด มาออกเสียงเหมือน น สะกดกันภายหลัง
ถ้าพิจารณาที่มาของคำ คำที่มี ญ สะกดหลายคำมาจากภาษาเขมร ที่ใช้ ญ สะกดตรงกัน เช่น ผลาญ ผจญ ผจัญ ชาญ ชำนาญ บำเพ็ญ บัญชา ที่เขมรใช้ ล สะกด เช่น เรียล-เหรียญ สํราล-สำราญ
คำที่มี ญ ล น สะกดนั้นเขมรออกเสียงต่างกัน คือ น สะกดออกเสียงเหมือน น สะกดในภาษาไทย ญ สะกดเขมรออกเสียงขึ้นจมูก และ ล สะกด กระดกลิ้นตอนท้ายอย่างเสียง L ในภาษาอังกฤษ

รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลศักดิ์ กิ่งคำ กล่าวไว้ในหนังสือภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (๒๕๕๖ : ๙๑) ว่า เมื่อประเทศไทยนำคำภาษาเขมรมาใช้ ออกเสียงไม่สนิท จึงต้องกำหนดใหม่ตามแบบการออกเสียงของภาษาไทยมาตรฐาน คำที่สะกดด้วย ญ ณ น ร ฬ ล จึงจัดไว้แม่กน

มอญ-เตลง-รามัญ(ดร.คุณบรรจบ พันธุเมธา)  คำที่น่าสนใจ ซีลอน  และ สะเทิม(สะเทินบก สะเทินน้ำ ,เกรละ(เจนละ)บก เกรละน้ำ)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่