สวัสดีครับ พี่ๆชาว Pantip ทุกท่าน วันนี้ผมมีเรื่องมารบกวนขอความรู้เรื่องของ เหล็ก ที่แตกต่างกันด้วยวิธีการขึ้นรูป แล้วการนำมาใช้ในเชิงอุตสาหกรรมครับ
พอดีได้มาเกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรม และมันมีส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชิ้นงานที่เรียกกันว่า "เฟือง หรือ Sprocket" ซึ่งเจ้าเฟืองตัวนี้แหละครับ ทำผมงงมากว่าถ้าขบวนการการผลิตมันแตกต่างกัน สมบัติทางกลมันก็แตกต่างกันด้วย ทั้งที่ผลิตมาจากเหล็กตัวเดียวกัน ส่งผลไปถึงอายุการใช้งานที่มากน้อยกว่ากันเป็นปีได้เลยทีเดียว ในตำแหน่งการใช้งาน ณ จุดเดียวกัน
ในที่นี้ขอสมมุติเกรดของโลหะ หรือ เหล็ก ก่อนแล้วกันครับ เหล็กตัวนี้มีรหัสว่า SCM22 (20CrMo) เหมือนกัน แต่มีแยกย่อยที่มาของการขึ้นรูปดังนี้
1. เหล็กหล่อ (Cast Steel) + H.T.
2. เหล็กเหนียว (Alloy Steel) + H.T.
3. เหล็กฟอร์จ (Forge Steel) + H.T.
* H.T. = ชุบแข็ง ให้ได้ความแข็งอยู่ที่ประมาณ 38-40HRC
ที่นี้จากที่หาข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเป็นเหล็ก รหัสเดียวกัน เลยยังไม่ได้คำตอบครับ
ยังไงผมรบกวนขอความรู้จากพี่ๆในห้องนี้ด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
เด็กอ้วน
Cast Steel , Alloy Steel , Forge Steel มีคุณสมบัติทางกลแตกต่างกันยังไงบ้างครับ
พอดีได้มาเกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรม และมันมีส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชิ้นงานที่เรียกกันว่า "เฟือง หรือ Sprocket" ซึ่งเจ้าเฟืองตัวนี้แหละครับ ทำผมงงมากว่าถ้าขบวนการการผลิตมันแตกต่างกัน สมบัติทางกลมันก็แตกต่างกันด้วย ทั้งที่ผลิตมาจากเหล็กตัวเดียวกัน ส่งผลไปถึงอายุการใช้งานที่มากน้อยกว่ากันเป็นปีได้เลยทีเดียว ในตำแหน่งการใช้งาน ณ จุดเดียวกัน
ในที่นี้ขอสมมุติเกรดของโลหะ หรือ เหล็ก ก่อนแล้วกันครับ เหล็กตัวนี้มีรหัสว่า SCM22 (20CrMo) เหมือนกัน แต่มีแยกย่อยที่มาของการขึ้นรูปดังนี้
1. เหล็กหล่อ (Cast Steel) + H.T.
2. เหล็กเหนียว (Alloy Steel) + H.T.
3. เหล็กฟอร์จ (Forge Steel) + H.T.
* H.T. = ชุบแข็ง ให้ได้ความแข็งอยู่ที่ประมาณ 38-40HRC
ที่นี้จากที่หาข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเป็นเหล็ก รหัสเดียวกัน เลยยังไม่ได้คำตอบครับ
ยังไงผมรบกวนขอความรู้จากพี่ๆในห้องนี้ด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
เด็กอ้วน