วิสัตติกา คือ ตัณหา? อะไรบ้างเรียกว่า วิสัตติกา.

^.
    ความกำหนัด,   ความกำหนัดกล้า,
ความพอใจ,    ความชอบใจ,    ความเพลิดเพลิน,   ความกำหนัดด้วยสามารถ
แห่งความเพลิดเพลิน,   ความกำหนัดกล้าแห่งจิต,   ความปรารถนา,    ความ
หลง,   ความติดใจ,   ความยินดี,   ความยินดีทั่วไป,    ความข้อง,     ความ
ติดพัน,    ความแสวงหา,    ความลวง,    ความให้สัตว์เกิด,   ความให้สัตว์
เกี่ยวกับทุกข์,   ความเย็บไว้,   ความเป็นดังว่าข่าย,   ความเป็นดังว่ากระแสน้ำ
  ความซ่านไปในอารมณ์ต่าง ๆ  ความเป็นดังว่าเส้นด้าย,  ความกระจาย
ไป   ความให้อายุเสื่อมไป,   ความเป็นเพื่อน,   ความตั้งมั่น,    เครื่องนำไป
สู่ภพ,   ความติดอารมณ์,  ความตั้งอยู่ในอารมณ์,   ความสนิท,   ความรัก
ความเพ่งเล็ง,   ความผูกพัน,    ความหวัง,    ความจำนง,    ความประสงค์,
ความหวังในรูป,   ความหวังในเสียง,  ความหวังในกลิ่น,   ความหวังในรส,
ความหวังในโผฏฐัพพะ,   ความหวังในลาภ,   ความหวังในทรัพย์,    ความ
หวังในบุตร,  ความหวังในชีวิต,  ความปรารถนา,   ความให้สัตว์ปรารถนา
ความที่จิตปรารถนา,   ความเหนี่ยวรั้ง,   ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง,    ความที่
จิตเหนี่ยวรั้ง,     ความหวั่นไหว,    อาการแห่งความหวั่นไหว,    ความพรั่ง
พร้อมด้วยความหวั่นไหว,   ความกำเริบ,   ความใคร่ดี,  ความกำหนัดในที่
ผิดธรรม,  ความโลภไม่เสมอ,   ความใคร่,   อาการแห่งความใคร่,    ความ
มุ่งหมาย,  ความปอง,   ความปรารถนาดี,  กามตัณหา,  ภวตัณหา,  วิภว-
ตัณหา,   ตัณหาในรูปภพ,   ตัณหาในอรูปภพ,   ตัณหาในนิโรธ,  รูปตัณหา,
สัททตัณหา,  คันธตัณหา,  รสตัณหา,  โผฏฐัพพตัณหา,  ธัมมตัณหา,  โอฆะ,
โยคะ,  คันถะ,  อุปาทาน,   ความกั้น,   ความปิด,   ความบัง,   ความผูก,
ความเข้าไปเศร้าหมอง,   ความนอนเนื่อง,   ความกลุ้มรุมจิต,   ความเป็น
ดังว่าเถาวัลย์,  ความปรารถนาวัตถุต่าง ๆ,  รากเง่าแห่งทุกข์,  เหตุแห่งทุกข์,
แดนเกิดแห่งทุกข์,   บ่วงมาร,   เบ็ดมาร,   วิสัยมาร,   แม่น้ำตัณหา,     ข่าย
ตัณหา,  โซ่ตัณหา,   สมุทรตัณหา,   อภิชฌา,  โลภะ,   อกุศลมูล,   

เรียกว่า  “ วิสัตติกา.
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่