ก่อนที่มนุษย์จะรู้จักวิธีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ การดำเนินชีวิตของมนุษย์ในยุคนั้นเป็นเหมือนกันคือ ใช้เวลาทั้งวันเพื่อหาอาหาร
เมื่อได้อาหารแล้ว วิธีการปรุงแต่งอาหารก็ยังไม่มีเพราะความหิว ได้ตรงไหนก็กินตรงนั้นอย่างดีอาจมีการทำอาหารให้สุขบ้าง
ครั้นเมื่อมนุษย์เริ่มอยู่รวมกันเป็นสังคม มีการสร้างที่อยู่อาศัย ก็เริ่มรู้จักวิธีปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เอาไว้เลี้ยงชีพ เวลาในการแสวงหาปัจจัยสี่เริ่มลดลง
มีเวลาว่างสำหรับศึกษาเล่าเรียน และสร้างสรรค์งานศิลปหัตถกรรม จนมีสิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นมาอย่างมากมายเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
และมีการพัฒนาขึ้นมาตามลำดับตามยุคสมัยจนมาถึงปัจจุบัน
---------------
ในปัจจุบันมีบางประเทศแม้มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย แต่เวลาส่วนใหญ่ของชีวิตหมดไปกับการแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อดำรงชีวิต แหล่งหาเงินตรงไหนมี ก็กระจุกตัวอยู่ ณ ที่ตรงนั้น จนเกิดความแอดอัดมีความเป็นแบบสุขๆดิบๆ เช่นว่า อาหารการกินต้องสะดวกรวดเร็ว รสชาติหรือความสะอาดปลอดภัยไม่ต้องคำนึงถึง คนรอบข้างจะเป็นอย่างไรไม่สนขอเพียงเรารอดก็พอ นี้เป็นลักษณะของการดำเนินชีวิตที่เกิดขึ้นจริงในยุคปัจจุบัน
---------------
สภาพสังคมที่บีบให้มนุษย์ต้องเป็นเช่นนี้เกิดจากแนวคิดทุนนิยม คือมีทุนมากก็ทำได้มาก การที่จะมีทุนมากต้องผลิตและขายของให้ได้เยอะ ๆ จากแนวคิดนี้เอง ทำให้เกิดการผลิตในรูปแบบโรงงานที่ทำงานด้วยกำลังคนเป็นหลัก พัฒนามาเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ทั้งคนและเครื่องจักร ยิ่งผลิตได้มากยิ่งได้ทุนมาก แต่ในทางกลับกันการที่จะผลิตของได้มากมันต้องใช้วัตถุดิบมาก ใช้กำลังคนในการผลิตมากด้วยเช่นกัน ทำให้เกิดปัญหาวัตถุดิบและแรงงานไม่พอ
วิธีการแก้ก็คือ (ในช่วงศตวรรษที่ 18-19) ล้าอาณานิคมเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ และใช้อำนาจทางกฎหมายเข้ายึดครองที่ดินทำให้เกษตรกรไม่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง สุดท้ายต้องทิ้งบ้านเกิดเพื่อหางานทำที่เมืองอุตสาหกรรม วิธีการนี้ทำให้ได้คน
เมื่อมีคนเข้าทำงานในระบบงานอุตสาหกรรม ปัญหาที่ตามคือ
- เกิดชนชั้นใหม่ 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นนายทุนและชนชั้นกรรมกร นายทุนมักเอารัดเอาเปรียบชนชั้นกรรมกร
- เกิดปัญหาเรื่องอัตราค้าจ้าง
- เกิดปัญหาการใช้แรงงานเด็กและสตรีเพื่อลดต้นทุน
- เกิดปัญหาทางด้านสุขอนามัยในโรงงาน ฯลฯ
ปัญหาพวกนี้นายทุนไม่ให้ความสนใจจริง ๆ หรอก สนใจแต่เพียงว่าต้นทุนและกำไรของโรงงานจะเป็นอย่างไรเท่านั้น ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้เกิดการรวมกลุ่มเป็นสหภาพแรงงาน เพื่อเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ ที่ผู้ใช้แรงงานจะพึ่งมีพึ่งได้ และวันแรงงานก็เป็นหนึ่งในข้อเรียกร้องนั้น ซึ่งถือเป็นเรื่องที่เล็กน้อยมากเมื่อเทียบแรงกายและเวลาที่เสียไปกับการทำงานให้แก่เหล่านายทุน
ขอบคุณข่าวจาก
http://siambass1.blogspot.com/2015/05/blog-post.html
การปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เกิดแรงงาน
เมื่อได้อาหารแล้ว วิธีการปรุงแต่งอาหารก็ยังไม่มีเพราะความหิว ได้ตรงไหนก็กินตรงนั้นอย่างดีอาจมีการทำอาหารให้สุขบ้าง
ครั้นเมื่อมนุษย์เริ่มอยู่รวมกันเป็นสังคม มีการสร้างที่อยู่อาศัย ก็เริ่มรู้จักวิธีปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เอาไว้เลี้ยงชีพ เวลาในการแสวงหาปัจจัยสี่เริ่มลดลง
มีเวลาว่างสำหรับศึกษาเล่าเรียน และสร้างสรรค์งานศิลปหัตถกรรม จนมีสิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นมาอย่างมากมายเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
และมีการพัฒนาขึ้นมาตามลำดับตามยุคสมัยจนมาถึงปัจจุบัน
---------------
ในปัจจุบันมีบางประเทศแม้มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย แต่เวลาส่วนใหญ่ของชีวิตหมดไปกับการแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อดำรงชีวิต แหล่งหาเงินตรงไหนมี ก็กระจุกตัวอยู่ ณ ที่ตรงนั้น จนเกิดความแอดอัดมีความเป็นแบบสุขๆดิบๆ เช่นว่า อาหารการกินต้องสะดวกรวดเร็ว รสชาติหรือความสะอาดปลอดภัยไม่ต้องคำนึงถึง คนรอบข้างจะเป็นอย่างไรไม่สนขอเพียงเรารอดก็พอ นี้เป็นลักษณะของการดำเนินชีวิตที่เกิดขึ้นจริงในยุคปัจจุบัน
---------------
สภาพสังคมที่บีบให้มนุษย์ต้องเป็นเช่นนี้เกิดจากแนวคิดทุนนิยม คือมีทุนมากก็ทำได้มาก การที่จะมีทุนมากต้องผลิตและขายของให้ได้เยอะ ๆ จากแนวคิดนี้เอง ทำให้เกิดการผลิตในรูปแบบโรงงานที่ทำงานด้วยกำลังคนเป็นหลัก พัฒนามาเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ทั้งคนและเครื่องจักร ยิ่งผลิตได้มากยิ่งได้ทุนมาก แต่ในทางกลับกันการที่จะผลิตของได้มากมันต้องใช้วัตถุดิบมาก ใช้กำลังคนในการผลิตมากด้วยเช่นกัน ทำให้เกิดปัญหาวัตถุดิบและแรงงานไม่พอ
วิธีการแก้ก็คือ (ในช่วงศตวรรษที่ 18-19) ล้าอาณานิคมเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ และใช้อำนาจทางกฎหมายเข้ายึดครองที่ดินทำให้เกษตรกรไม่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง สุดท้ายต้องทิ้งบ้านเกิดเพื่อหางานทำที่เมืองอุตสาหกรรม วิธีการนี้ทำให้ได้คน
เมื่อมีคนเข้าทำงานในระบบงานอุตสาหกรรม ปัญหาที่ตามคือ
- เกิดชนชั้นใหม่ 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นนายทุนและชนชั้นกรรมกร นายทุนมักเอารัดเอาเปรียบชนชั้นกรรมกร
- เกิดปัญหาเรื่องอัตราค้าจ้าง
- เกิดปัญหาการใช้แรงงานเด็กและสตรีเพื่อลดต้นทุน
- เกิดปัญหาทางด้านสุขอนามัยในโรงงาน ฯลฯ
ปัญหาพวกนี้นายทุนไม่ให้ความสนใจจริง ๆ หรอก สนใจแต่เพียงว่าต้นทุนและกำไรของโรงงานจะเป็นอย่างไรเท่านั้น ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้เกิดการรวมกลุ่มเป็นสหภาพแรงงาน เพื่อเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ ที่ผู้ใช้แรงงานจะพึ่งมีพึ่งได้ และวันแรงงานก็เป็นหนึ่งในข้อเรียกร้องนั้น ซึ่งถือเป็นเรื่องที่เล็กน้อยมากเมื่อเทียบแรงกายและเวลาที่เสียไปกับการทำงานให้แก่เหล่านายทุน
ขอบคุณข่าวจาก
http://siambass1.blogspot.com/2015/05/blog-post.html