เห็นในเว็บนี้เค้าพูดถึง
http://www.into-asia.com/thai_language/grammar/pronouns.php
เท่าที่ดู เหมือนเค้าจะวิเคราะห์การใช้ภาษาตามความเป็นจริง มากกว่าแค่ที่มีในตำราเรียน
อีกกรณีที่ใกล้ๆกัน คือคำว่า เค้า โดยแรกเริ่ม หมายถึง เขา แต่ต่อมา ก็ใช้เรียกแทนตัวเองได้ด้วย
คำว่า ไอ กับ ยู ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสรรพนามไทยแล้ว เพราะมีผู้ใช้
แต่ด้วยแกรมม่าที่ต่างไปจากภาษาอังกฤษ คือไม่ต้องผันไปตามกาล เพราะลักษณะของภาษาไทย ไม่มีการผันสรรพนามไปตาม
กาล
เช่น i จะใช้เมื่อเป็นประธาน
Me จะใช้เมื่อเป็นกรรม (อยู่หลังกิริยา)
My จะใช้เมื่อแสดงความเป็นเจ้าของ
Mine จะใช้เมื่อพูดถึงความเป็นเจ้าของ
คนที่ยืมสรรพนามในภาษาอังกฤษมาใช้ เมื่อมาพูดในภาษาไทย จะใช้แค่ i และ you โดยไม่มีการผันเป็น me my mine myself
รวมไปถึง he และ she ก็ไม่มีการผันเป็น his และ her
เช่น ชีร้องเพลงได้ดีนะ เพลงของชีเพราะมาก
คำว่า ไอ กับ ยู เป็นส่วนหนึ่งของสรรพนามไทยแล้วเหรอ
http://www.into-asia.com/thai_language/grammar/pronouns.php
เท่าที่ดู เหมือนเค้าจะวิเคราะห์การใช้ภาษาตามความเป็นจริง มากกว่าแค่ที่มีในตำราเรียน
อีกกรณีที่ใกล้ๆกัน คือคำว่า เค้า โดยแรกเริ่ม หมายถึง เขา แต่ต่อมา ก็ใช้เรียกแทนตัวเองได้ด้วย
คำว่า ไอ กับ ยู ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสรรพนามไทยแล้ว เพราะมีผู้ใช้
แต่ด้วยแกรมม่าที่ต่างไปจากภาษาอังกฤษ คือไม่ต้องผันไปตามกาล เพราะลักษณะของภาษาไทย ไม่มีการผันสรรพนามไปตาม
กาล
เช่น i จะใช้เมื่อเป็นประธาน
Me จะใช้เมื่อเป็นกรรม (อยู่หลังกิริยา)
My จะใช้เมื่อแสดงความเป็นเจ้าของ
Mine จะใช้เมื่อพูดถึงความเป็นเจ้าของ
คนที่ยืมสรรพนามในภาษาอังกฤษมาใช้ เมื่อมาพูดในภาษาไทย จะใช้แค่ i และ you โดยไม่มีการผันเป็น me my mine myself
รวมไปถึง he และ she ก็ไม่มีการผันเป็น his และ her
เช่น ชีร้องเพลงได้ดีนะ เพลงของชีเพราะมาก