การครองคู่แบบผัวเดียวเมียเดียว (monogamy) พบได้มากในสัตว์ประเภทนก
ซึ่งไม่รู้ว่าทำไม ไม่ได้ศึกษาลึกซึ้ง พวกนกเงือก นกอัลบาทรอส
ในขณะที่มนุษย์ มีกรอบของศีลธรรม ความยับยั้งชั่งใจ ค่านิยม เป็นตัวยึดถือให้ครองคู่แบบผัวเดียวเมียเดียว
แต่ถ้าวัดจากความรู้สึก อารมณ์ สรุปได้ง่ายๆว่ามนุษย์คือสัตว์หลายผัวหลายเมีย polygamy
ยังไม่ต้องนับถึงสเต็ปแต่งงาน เอาแค่เวลามีแฟนแล้วเลิกกันไป ความรู้สึกที่ดับลงไปและเกิดความรู้สึกพิเศษกับคนใหม่น่าจะเป็นตัวตอบ
เคยสรุปหาคำตอบให้ตัวเองสั้นๆว่า น่าจะเป็นเพราะมนุษย์อายุยืนเกินไป เกิดมาอยู่เป็นร้อยปี แล้วก็มีวิถีชีวิตที่ซับซ้อนกว่านกที่บินหาอาหารและกลับรัง
แต่มันก็ไม่ใช่ สัตว์ที่มีอายุไขสั้นกว่านกมากมายก็ polygamy จุลินทรีย์ ก็ polygammy เพื่อเพิ่มจำนวน cell เพื่อการอยู่รอดของสายพันธุ์
ล่าสุดเพิ่งอ่านเจอว่า gibbon ไม่รู้ว่าคือลิงประเภทไหนแต่หน้าตาคล้ายชะนี ก็มีพฤติกรรมแบบ monogamy แต่ลิงพันธุ์อื่นรวมถึงมนุษย์ไม่เป็นแบบนั้น
ตัวบีเวอร์ หงส์ ปลาบางสายพันธุ์ รวมถึงสัตว์ที่ผสมพันธุ์แล้วต้องตายมีวงจรชีวิตสั้นๆ อย่าง ผีเสื้อ จิ้งหรีด ยุง
อะไรคือสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมร่วมของสัตว์เหล่านี้ ไม่น่าจะเป็นเพราะยีนแล้วถูกไหม
หรือจริงๆแล้วเพราะศีลธรรมในสัตว์เหล่านี้ อาจเป็นค่านิยมที่พวกมันยึดถือกันเองแต่เราไม่รู้
มนุษย์ไปตีความและสรุปกันเองว่าเพียงมนุษย์เท่านั้นที่ไม่ใช่สัตว์เดรัจฉานหรือเปล่า
และถ้าสัตว์เหล่านี้ทำไปเพราะสัญชาตญาณไม่ได้เกิดจากความยับยั้งชั่งใจเหมือนมนุษย์
แปลว่ามันจะไม่เกิดอารมณ์ทางเพศกับตัวที่ไม่ใช่คู่ของมันถูกต้องหรือไม่
ทำไมชะนีเป็นสัตว์ที่ครองคู่แบบผัวเดียวเมียเดียวในขณะลิงพันธุ์อื่นรวมถึงมนุษย์ไม่เป็นแบบนั้น
ซึ่งไม่รู้ว่าทำไม ไม่ได้ศึกษาลึกซึ้ง พวกนกเงือก นกอัลบาทรอส
ในขณะที่มนุษย์ มีกรอบของศีลธรรม ความยับยั้งชั่งใจ ค่านิยม เป็นตัวยึดถือให้ครองคู่แบบผัวเดียวเมียเดียว
แต่ถ้าวัดจากความรู้สึก อารมณ์ สรุปได้ง่ายๆว่ามนุษย์คือสัตว์หลายผัวหลายเมีย polygamy
ยังไม่ต้องนับถึงสเต็ปแต่งงาน เอาแค่เวลามีแฟนแล้วเลิกกันไป ความรู้สึกที่ดับลงไปและเกิดความรู้สึกพิเศษกับคนใหม่น่าจะเป็นตัวตอบ
เคยสรุปหาคำตอบให้ตัวเองสั้นๆว่า น่าจะเป็นเพราะมนุษย์อายุยืนเกินไป เกิดมาอยู่เป็นร้อยปี แล้วก็มีวิถีชีวิตที่ซับซ้อนกว่านกที่บินหาอาหารและกลับรัง
แต่มันก็ไม่ใช่ สัตว์ที่มีอายุไขสั้นกว่านกมากมายก็ polygamy จุลินทรีย์ ก็ polygammy เพื่อเพิ่มจำนวน cell เพื่อการอยู่รอดของสายพันธุ์
ล่าสุดเพิ่งอ่านเจอว่า gibbon ไม่รู้ว่าคือลิงประเภทไหนแต่หน้าตาคล้ายชะนี ก็มีพฤติกรรมแบบ monogamy แต่ลิงพันธุ์อื่นรวมถึงมนุษย์ไม่เป็นแบบนั้น
ตัวบีเวอร์ หงส์ ปลาบางสายพันธุ์ รวมถึงสัตว์ที่ผสมพันธุ์แล้วต้องตายมีวงจรชีวิตสั้นๆ อย่าง ผีเสื้อ จิ้งหรีด ยุง
อะไรคือสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมร่วมของสัตว์เหล่านี้ ไม่น่าจะเป็นเพราะยีนแล้วถูกไหม
หรือจริงๆแล้วเพราะศีลธรรมในสัตว์เหล่านี้ อาจเป็นค่านิยมที่พวกมันยึดถือกันเองแต่เราไม่รู้
มนุษย์ไปตีความและสรุปกันเองว่าเพียงมนุษย์เท่านั้นที่ไม่ใช่สัตว์เดรัจฉานหรือเปล่า
และถ้าสัตว์เหล่านี้ทำไปเพราะสัญชาตญาณไม่ได้เกิดจากความยับยั้งชั่งใจเหมือนมนุษย์
แปลว่ามันจะไม่เกิดอารมณ์ทางเพศกับตัวที่ไม่ใช่คู่ของมันถูกต้องหรือไม่