รู้ความ เคลื่อนไหว ต่างๆ ขั้น ที่ สาม ของ การ ฝึก มี สติ อยู่ กับ กาย
มหาสติปัฏฐานสูตร โดย ดังตฤณ
จากหนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 28 ค่ะ

แม้ ฝึก มี สติ อยู่ กับ กาย ผ่าน อิริยาบถ ต่างๆ กระทั่ง ร่างกาย ปรากฏ ดุจ หุ่น กล ที่ ถูก
เรา เฝ้า ดู จาก เบื้องหลัง ก็ ขอ ให้ สังเกต ว่า จังหวะ ที่ ขยับ เปลี่ยน จาก อิริยาบถ เดิม หัน
ซ้าย แล ขวา กลอก ตา หรือ ยืด ตัว ไป ต่างๆ ก็ จะ เกิด ความ รู้สึก ว่า กิริยา นั้นๆ เป็น ตัว เรา
ใน ทันที อิริยาบถ เดิม ที่ ถูก ดู อยู่ หาย ไป แล้ว
ดังนั้น แค่ รู้ อิริยาบถ ยัง ไม่ พอ เรา ต้อง รู้ ครอบ คลุม ไป ถึง ความ เคลื่อนไหว ปลีกย่อย
ต่างๆ ด้วย เพื่อ ปิด โอกาส การ เกิด อุปาทาน ว่า ‘ตัว เรา ขยับ ’ แต่ ให้ ทุก การ เคลื่อนไหว
เป็น ที่ ตั้ง ของ การ ระลึก รู้ ว่า ‘ร่างกาย ขยับ ’ ซึ่ง หาก ทำได้ ก็ จะ นับ ว่าเป็น ผู้ มี ความ รู้สึกตัว
(สัมปชัญญะ) ตาม พุทธ บัญญัติ
กล่าว อย่าง ย่นย่อ ใน เบื้องต้น เรา จะ ฝึก ทำความ รู้สึก ตัว ด้วย การ สังเกต ความ
เคลื่อนไหว ปลีกย่อย ต่างๆ ทาง กาย ซึ่ง ต้อง ทำความ เข้าใจ ให้ ดี เพราะ เมื่อ เริ่ม ต้น
ฝึกนั้น นัก เจริญ สติ ส่วน ใหญ่ จะ กำหนด เพ่งเล็ง ไป ยัง อวัยวะ ที่ กำลัง เคลื่อนไหว เช่น
เมื่อ ยื่นมือ ไป หยิบ แก้ว น้ำขึ้น มา ดื่ม ก็ จะ ตั้ง สติ อย่าง เจาะจง ลง ไป ที่ มือ หรือ แขน จิต
จึง รับ รู้ ได้ เพียง ใน ขอบเขต แคบๆแค่ มือ หรือ แขน อัน นั้น ไม่ นับ เป็นความ รู้สึก ตัว ที่ จะ
พัฒนา ก้าวหน้า ขึ้น ได้
ที่ เป็น เช่น นั้น เพราะ ตาม ธรรมชาติ ของ จิต แล้ว เมื่อ เพ่งเล็ง สิ่ง ใด ย่อม ยึด สิ่ง นั้น เพ่ง
มือ ก็ รู้สึก ว่า นั่น มือ ของ เรา เพ่ง แขน ก็ รู้สึก ว่า นั่น แขน ของ เรา เรา กำลัง ยื่นมือ ไป หยิบ
แก้ว น้ำขึ้น ดื่ม ต่อ ให้ ผสม ความ คิด ลง ไป ว่า มือ ไม่ ใช่ เรา แขน ไม่ ใช่ เรา ใจ ที่ มี อาการ
‘เพ่ง ยึด’ อยู่ ก็ บอก ตัว เอง ว่า ใช่ อยู่ ดี
หาก ฝึก มา ตาม ขั้น ตอน ก็ จะ ไม่ พลาด กล่าว คือ มี อิริยาบถ เป็น หลัก ตั้ง เสีย ก่อน จาก
นั้น จึง ค่อย รู้ ต่อ ไป ว่า ภายใน อิริยาบถ นั้นๆ มี อวัยวะ ใด เคลื่อนไหว เช่น เมื่อ นั่ง ก็ รู้ ว่า นั่ง
แล้ว ค่อย รู้สึก ตัว ว่า ใน ท่า นั่ง นั้น มี การ ยืด แขน ออก ไป ข้าง หน้า เพื่อ จับ แก้ว น้ำ เป็นต้น
ความ เข้าใจ ตรง นี้ มี ส่วน สำคัญ มาก ถ้า ทราบ แต่ แรก ว่า รู้สึก ตัวอย่าง ไร จึง ถูก ทาง
ยิ่ง เจริญ สติ จิต ก็ จะ ยิ่ง เงียบ ลง และ เปิด กว้าง สบาย ขึ้น เพียง ใน เวลา ไม่ กี่ วัน ก็ เหมือน มี
สติ รู้สึก ตัว ได้ เอง เรื่อยๆ แต่ หาก ไม่ เข้าใจ หรือ เข้าใจ ผิด นึก ว่าการ รู้ อิริยาบถ และ ความ
เคลื่อนไหว ต่างๆ คือ การ เพ่ง จ้อง ณ ตำแหน่ง ใด ตำแหน่ง หนึ่ง ของ กาย ก็ อาจ ต้อง เสีย
เวลา เป็น สิบ ปี เพื่อ ย่ำ อยู่ กับ ที่ เห็น กาย เป็น ก้อน อะไร ทึบๆ และ ไม่ อาจ ผ่าน เข้าไป รู้ สิ่ง
ละเอียด กว่า นั้น ได้ เลย
รู้ความ เคลื่อนไหว ต่างๆ ขั้น ที่ สาม ของ การ ฝึก มี สติ อยู่ กับ กาย มหาสติปัฏฐานสูตร โดย ดังตฤณ ค่ะ
มหาสติปัฏฐานสูตร โดย ดังตฤณ
จากหนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 28 ค่ะ
แม้ ฝึก มี สติ อยู่ กับ กาย ผ่าน อิริยาบถ ต่างๆ กระทั่ง ร่างกาย ปรากฏ ดุจ หุ่น กล ที่ ถูก
เรา เฝ้า ดู จาก เบื้องหลัง ก็ ขอ ให้ สังเกต ว่า จังหวะ ที่ ขยับ เปลี่ยน จาก อิริยาบถ เดิม หัน
ซ้าย แล ขวา กลอก ตา หรือ ยืด ตัว ไป ต่างๆ ก็ จะ เกิด ความ รู้สึก ว่า กิริยา นั้นๆ เป็น ตัว เรา
ใน ทันที อิริยาบถ เดิม ที่ ถูก ดู อยู่ หาย ไป แล้ว
ดังนั้น แค่ รู้ อิริยาบถ ยัง ไม่ พอ เรา ต้อง รู้ ครอบ คลุม ไป ถึง ความ เคลื่อนไหว ปลีกย่อย
ต่างๆ ด้วย เพื่อ ปิด โอกาส การ เกิด อุปาทาน ว่า ‘ตัว เรา ขยับ ’ แต่ ให้ ทุก การ เคลื่อนไหว
เป็น ที่ ตั้ง ของ การ ระลึก รู้ ว่า ‘ร่างกาย ขยับ ’ ซึ่ง หาก ทำได้ ก็ จะ นับ ว่าเป็น ผู้ มี ความ รู้สึกตัว
(สัมปชัญญะ) ตาม พุทธ บัญญัติ
กล่าว อย่าง ย่นย่อ ใน เบื้องต้น เรา จะ ฝึก ทำความ รู้สึก ตัว ด้วย การ สังเกต ความ
เคลื่อนไหว ปลีกย่อย ต่างๆ ทาง กาย ซึ่ง ต้อง ทำความ เข้าใจ ให้ ดี เพราะ เมื่อ เริ่ม ต้น
ฝึกนั้น นัก เจริญ สติ ส่วน ใหญ่ จะ กำหนด เพ่งเล็ง ไป ยัง อวัยวะ ที่ กำลัง เคลื่อนไหว เช่น
เมื่อ ยื่นมือ ไป หยิบ แก้ว น้ำขึ้น มา ดื่ม ก็ จะ ตั้ง สติ อย่าง เจาะจง ลง ไป ที่ มือ หรือ แขน จิต
จึง รับ รู้ ได้ เพียง ใน ขอบเขต แคบๆแค่ มือ หรือ แขน อัน นั้น ไม่ นับ เป็นความ รู้สึก ตัว ที่ จะ
พัฒนา ก้าวหน้า ขึ้น ได้
ที่ เป็น เช่น นั้น เพราะ ตาม ธรรมชาติ ของ จิต แล้ว เมื่อ เพ่งเล็ง สิ่ง ใด ย่อม ยึด สิ่ง นั้น เพ่ง
มือ ก็ รู้สึก ว่า นั่น มือ ของ เรา เพ่ง แขน ก็ รู้สึก ว่า นั่น แขน ของ เรา เรา กำลัง ยื่นมือ ไป หยิบ
แก้ว น้ำขึ้น ดื่ม ต่อ ให้ ผสม ความ คิด ลง ไป ว่า มือ ไม่ ใช่ เรา แขน ไม่ ใช่ เรา ใจ ที่ มี อาการ
‘เพ่ง ยึด’ อยู่ ก็ บอก ตัว เอง ว่า ใช่ อยู่ ดี
หาก ฝึก มา ตาม ขั้น ตอน ก็ จะ ไม่ พลาด กล่าว คือ มี อิริยาบถ เป็น หลัก ตั้ง เสีย ก่อน จาก
นั้น จึง ค่อย รู้ ต่อ ไป ว่า ภายใน อิริยาบถ นั้นๆ มี อวัยวะ ใด เคลื่อนไหว เช่น เมื่อ นั่ง ก็ รู้ ว่า นั่ง
แล้ว ค่อย รู้สึก ตัว ว่า ใน ท่า นั่ง นั้น มี การ ยืด แขน ออก ไป ข้าง หน้า เพื่อ จับ แก้ว น้ำ เป็นต้น
ความ เข้าใจ ตรง นี้ มี ส่วน สำคัญ มาก ถ้า ทราบ แต่ แรก ว่า รู้สึก ตัวอย่าง ไร จึง ถูก ทาง
ยิ่ง เจริญ สติ จิต ก็ จะ ยิ่ง เงียบ ลง และ เปิด กว้าง สบาย ขึ้น เพียง ใน เวลา ไม่ กี่ วัน ก็ เหมือน มี
สติ รู้สึก ตัว ได้ เอง เรื่อยๆ แต่ หาก ไม่ เข้าใจ หรือ เข้าใจ ผิด นึก ว่าการ รู้ อิริยาบถ และ ความ
เคลื่อนไหว ต่างๆ คือ การ เพ่ง จ้อง ณ ตำแหน่ง ใด ตำแหน่ง หนึ่ง ของ กาย ก็ อาจ ต้อง เสีย
เวลา เป็น สิบ ปี เพื่อ ย่ำ อยู่ กับ ที่ เห็น กาย เป็น ก้อน อะไร ทึบๆ และ ไม่ อาจ ผ่าน เข้าไป รู้ สิ่ง
ละเอียด กว่า นั้น ได้ เลย