*มมร. ๒๗/๑๓๓.* (ภาษาไทย)
[๑๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นจะมีอะไรเป็นข้อแปลกกัน จะมีอะไรเป็นข้อประสงค์ที่ยิ่งกว่ากัน จะมีอะไรเป็นเหตุทำให้ต่างกันระหว่างพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า กับภิกษุผู้หลุดพ้นได้ด้วยปัญญา.
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธรรมของข้าพระองค์ทั้งหลายมีพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นรากฐาน เป็นแบบฉบับ เป็นที่อิงอาศัย ขอประทานพระวโรกาส
ขออรรถแห่งภาษิตนี้จงแจ่มแจ้งกะพระผู้มีพระภาคเจ้าทีเดียวเถิด ภิกษุทั้งหลายได้สดับต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วจักทรงจำไว้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังทางที่ยังไม่เกิดให้เกิด ยังประชุมชนให้รู้จักมรรคที่ใครๆไม่รู้จัก บอกทางที่ยังไม่มีใครบอก เป็นผู้รู้จักทาง ประกาศทางให้ปรากฏ ฉลาดในทาง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สาวกทั้งหลาย ในบัดนี้ เป็นผู้ที่ดำเนินไปตามทาง เป็นผู้ตามมาในภายหลัง อันนี้แลเป็นข้อแปลกกัน อันนี้เป็นข้อประสงค์ยิ่งกว่ากัน อันนี้เป็นเหตุทำให้ต่างกัน ระหว่างพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า กับภิกษุผู้หลุดพ้นได้ด้วยปัญญา.
บทธรรม. ในพุทธสูตร.
[๑๒๖] ตตฺร [1*] ภิกฺขเว โก วิเสโส โก อธิปฺปายโส กึ นานากรณํ ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปญฺญาวิมุตฺเตน
ภิกฺขุนาติ ฯ ภควํมูลกา โน ภนฺเต ธมฺมา ภควํเนตฺติกา ภควํปฏิสรณา สาธุ วต ภนฺเต ภควนฺตญฺเญว ปฏิภาตุ
เอตสฺส ภาสิตสฺส อตฺโถ ภควโต สุตฺวา ภิกฺขู ธาเรสฺสนฺตีติ ฯ เตนหิ
1* โป. ม. ยุ. เอตฺถนฺตเร โขสทฺโท ทิสฺสติ ฯ
ภิกฺขเว สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ ฯ เอวํ ภนฺเตติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสํ ฯ
ภควา เอตทโวจ ตถาคโต ภิกฺขเว อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ อนุปฺปนฺนสฺส มคฺคสฺส อุปฺปาเทตา อสญฺชาตสฺส มคฺคสฺส สญฺชาเนตา อนกฺขาตสฺส มคฺคสฺส อกฺขาตา มคฺคญฺญู มคฺควิทู มคฺคโกวิโท [1*] ฯ มคฺคานุคา จ ภิกฺขเว เอตรหิ สาวกา วิหรนฺติ ปจฺฉา สมนฺนาคตา ฯ อยํ โข ภิกฺขเว วิเสโส อยํ อธิปฺปายโส อิทํ นานากรณํ ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปญฺญาวิมุตฺเตน ภิกฺขุนาติ ฯ
1* โป. มคฺคามคฺคโกวิโท ฯ
พระบาลีธรรม. พุทธสูตร.
“ คาถาเหล่านี้ ไม่ใช่ภาษิตของพระสาวก ไม่ใช่ภาษิตของฤๅษี ไม่ใช่ภาษิตของกวี แต่เป็นภาษิตของพระสัพพัญญู จะควรค่าเท่าไรหนอ(จากพระไตรปิฎก) ”
จากนี้เป็นเรื่องภาษิต ในข้อนี้จะแปลกกัน และทุ่มเถียงว่า พระอภิธรรมก็เป็นพุทธภาษิตไปเสียด้วย กระทั่งที่พระสาวกกระทำเป็นสาธยาย แนวนึกคิดเท่านั้นที่ไม่ยกความเลิศล้ำเข้าด้วยกันระหว่างพุทธสาวกและพระพุทธชินเจ้า ข้อนี้เลยเกินสงสัยไปซะคราวหนึ่ง เพราะในกระบวนพระอภิธรรม ย่อมเป็นแต่อลังการในหนแห่งเฉพาะทางแห่งภาษาเท่านั้นต่อไป หากจะพูดกล่าวสืบต่อกันให้ได้กำหนด
*บท ก็ดี อนุบท ก็ดี อนุอักขระ ก็ดี อนุพยัญชนะ ก็ดี ทั้งหมด
นั้น ชื่อว่าธรรมโดยบท.
ที่ชื่อว่า ธรรม ได้แก่ บาลีที่เป็นพุทธภาษิต สาวกภาษิต อิสิภาษิต
เทวตาภาษิต ซึ่งประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม.
บทว่า ให้กล่าว คือ ให้กล่าวโดยบท (*มมร. ๔/๑๗๕/๓-๗)
ความนี้จึงเป็นเรื่องของ ภาษิต
‘ เอตสฺส ภาสิตสฺส อตฺโถ ’ จากข้ออ้างที่ตอบตาม บาลีย่อหน้าที่ ๒ นั้น หากสรุปไม่ได้ ก็จะเกินเข้าใจความ แล้วก็คงจะได้อีกกระทง(ความ)หนึ่ง ซึ่งคงจะต้องวิกลไปไม่สิ้นสุด แล้วก็คงไม่อาจจากไปจากหนังสือได้ ความแปลกกันระหว่างสัพพัญญู และพระขีนาสพคงแปลกกัน และไม่ทั่วไป แต่ภาษิตนั้น เห็นว่า ควรจะเป็นทั่วไป แต่คงแปลกความกันที่อรรถะ เท่านั้น ว่าเป็นธรรมหรือไม่ ส่วนพยัญชนะนั้นก็ตกไปเป็นเรื่องของนิรุตติ ซึ่งต้องกล่าวเป็นคดี และต้องแปลความให้ได้ ทีนี้จึงขอให้เพื่อนๆล่วงเลยไป เอออวยในชื่อของ
ธรรม ดังนั้น
ชื่อ ว่า ธรรม คือ ? (ศาสดา) ,ที่ชื่อว่า ธรรม คือ ? (ได้แก่ บาลี) ,บาลีนั้น คือ ? (พุทธภาษิต สาวกภาษิต อิสิ(ฤๅษี)ภาษิต เทวตาภาษิต ซึ่งประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม)
ตอบข้อนี้เป็นเพิ่มเติมที่สุด ว่า ที่สุดระยะแห่งการกล่าวธรรมแต่ละชนิด มักเป็นการเตือนกันในหมู่นักบวชอยู่ด้วยแล้ว ว่าการกล่าว(บท)ธรรม ร่วมกันกับอนุปสัมบัน เป็นโทษ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ บท หากพิจารณาพระวินัยให้เป็นอนันตนัยซ้ำด้วยกับที่จะกล่าว ในทำนองนี้ พึงลองพิจารณาดูเถิดว่า
ไฉนใครจึงจะกล่าวเป็นอย่างเดียวกันได้ ในบริษัทหมู่หนึ่ง กับบริษัทอีกหมู่หนึ่ง ดูทีคงเป็นแต่ บทธรรม ซึ่งกล่าวเป็นอธรรมเท่านั้น จึงไม่นับเข้าด้วยกับภาษิต
เพื่อนๆ คิดว่า หากไม่ใช่ธรรม ก็ไม่ใช่ภาษิต ข้อกล่าวนี้เพื่อนสมาชิกทุกท่านเห็นว่า จริงหรือไม่จริง ?
[๑๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในข้อนั้นจะมีอะไรเป็นข้อแปลกกัน จะมีอะไรเป็นข้อประสงค์ที่ยิ่งกว่ากัน จะมีอะไรเป็นเหตุทำให้ต่างกันระหว่างพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า กับภิกษุผู้หลุดพ้นได้ด้วยปัญญา.
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธรรมของข้าพระองค์ทั้งหลายมีพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นรากฐาน เป็นแบบฉบับ เป็นที่อิงอาศัย ขอประทานพระวโรกาส ขออรรถแห่งภาษิตนี้จงแจ่มแจ้งกะพระผู้มีพระภาคเจ้าทีเดียวเถิด ภิกษุทั้งหลายได้สดับต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วจักทรงจำไว้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังทางที่ยังไม่เกิดให้เกิด ยังประชุมชนให้รู้จักมรรคที่ใครๆไม่รู้จัก บอกทางที่ยังไม่มีใครบอก เป็นผู้รู้จักทาง ประกาศทางให้ปรากฏ ฉลาดในทาง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สาวกทั้งหลาย ในบัดนี้ เป็นผู้ที่ดำเนินไปตามทาง เป็นผู้ตามมาในภายหลัง อันนี้แลเป็นข้อแปลกกัน อันนี้เป็นข้อประสงค์ยิ่งกว่ากัน อันนี้เป็นเหตุทำให้ต่างกัน ระหว่างพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า กับภิกษุผู้หลุดพ้นได้ด้วยปัญญา.
บทธรรม. ในพุทธสูตร.
[๑๒๖] ตตฺร [1*] ภิกฺขเว โก วิเสโส โก อธิปฺปายโส กึ นานากรณํ ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปญฺญาวิมุตฺเตน
ภิกฺขุนาติ ฯ ภควํมูลกา โน ภนฺเต ธมฺมา ภควํเนตฺติกา ภควํปฏิสรณา สาธุ วต ภนฺเต ภควนฺตญฺเญว ปฏิภาตุ เอตสฺส ภาสิตสฺส อตฺโถ ภควโต สุตฺวา ภิกฺขู ธาเรสฺสนฺตีติ ฯ เตนหิ
1* โป. ม. ยุ. เอตฺถนฺตเร โขสทฺโท ทิสฺสติ ฯ
ภิกฺขเว สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ ฯ เอวํ ภนฺเตติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสํ ฯ
ภควา เอตทโวจ ตถาคโต ภิกฺขเว อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ อนุปฺปนฺนสฺส มคฺคสฺส อุปฺปาเทตา อสญฺชาตสฺส มคฺคสฺส สญฺชาเนตา อนกฺขาตสฺส มคฺคสฺส อกฺขาตา มคฺคญฺญู มคฺควิทู มคฺคโกวิโท [1*] ฯ มคฺคานุคา จ ภิกฺขเว เอตรหิ สาวกา วิหรนฺติ ปจฺฉา สมนฺนาคตา ฯ อยํ โข ภิกฺขเว วิเสโส อยํ อธิปฺปายโส อิทํ นานากรณํ ตถาคตสฺส อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปญฺญาวิมุตฺเตน ภิกฺขุนาติ ฯ
1* โป. มคฺคามคฺคโกวิโท ฯ
พระบาลีธรรม. พุทธสูตร.
“ คาถาเหล่านี้ ไม่ใช่ภาษิตของพระสาวก ไม่ใช่ภาษิตของฤๅษี ไม่ใช่ภาษิตของกวี แต่เป็นภาษิตของพระสัพพัญญู จะควรค่าเท่าไรหนอ(จากพระไตรปิฎก) ”
จากนี้เป็นเรื่องภาษิต ในข้อนี้จะแปลกกัน และทุ่มเถียงว่า พระอภิธรรมก็เป็นพุทธภาษิตไปเสียด้วย กระทั่งที่พระสาวกกระทำเป็นสาธยาย แนวนึกคิดเท่านั้นที่ไม่ยกความเลิศล้ำเข้าด้วยกันระหว่างพุทธสาวกและพระพุทธชินเจ้า ข้อนี้เลยเกินสงสัยไปซะคราวหนึ่ง เพราะในกระบวนพระอภิธรรม ย่อมเป็นแต่อลังการในหนแห่งเฉพาะทางแห่งภาษาเท่านั้นต่อไป หากจะพูดกล่าวสืบต่อกันให้ได้กำหนด
*บท ก็ดี อนุบท ก็ดี อนุอักขระ ก็ดี อนุพยัญชนะ ก็ดี ทั้งหมด
นั้น ชื่อว่าธรรมโดยบท.
ที่ชื่อว่า ธรรม ได้แก่ บาลีที่เป็นพุทธภาษิต สาวกภาษิต อิสิภาษิต
เทวตาภาษิต ซึ่งประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม.
บทว่า ให้กล่าว คือ ให้กล่าวโดยบท (*มมร. ๔/๑๗๕/๓-๗)
ความนี้จึงเป็นเรื่องของ ภาษิต ‘ เอตสฺส ภาสิตสฺส อตฺโถ ’ จากข้ออ้างที่ตอบตาม บาลีย่อหน้าที่ ๒ นั้น หากสรุปไม่ได้ ก็จะเกินเข้าใจความ แล้วก็คงจะได้อีกกระทง(ความ)หนึ่ง ซึ่งคงจะต้องวิกลไปไม่สิ้นสุด แล้วก็คงไม่อาจจากไปจากหนังสือได้ ความแปลกกันระหว่างสัพพัญญู และพระขีนาสพคงแปลกกัน และไม่ทั่วไป แต่ภาษิตนั้น เห็นว่า ควรจะเป็นทั่วไป แต่คงแปลกความกันที่อรรถะ เท่านั้น ว่าเป็นธรรมหรือไม่ ส่วนพยัญชนะนั้นก็ตกไปเป็นเรื่องของนิรุตติ ซึ่งต้องกล่าวเป็นคดี และต้องแปลความให้ได้ ทีนี้จึงขอให้เพื่อนๆล่วงเลยไป เอออวยในชื่อของ ธรรม ดังนั้น
ชื่อ ว่า ธรรม คือ ? (ศาสดา) ,ที่ชื่อว่า ธรรม คือ ? (ได้แก่ บาลี) ,บาลีนั้น คือ ? (พุทธภาษิต สาวกภาษิต อิสิ(ฤๅษี)ภาษิต เทวตาภาษิต ซึ่งประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม)
ตอบข้อนี้เป็นเพิ่มเติมที่สุด ว่า ที่สุดระยะแห่งการกล่าวธรรมแต่ละชนิด มักเป็นการเตือนกันในหมู่นักบวชอยู่ด้วยแล้ว ว่าการกล่าว(บท)ธรรม ร่วมกันกับอนุปสัมบัน เป็นโทษ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ บท หากพิจารณาพระวินัยให้เป็นอนันตนัยซ้ำด้วยกับที่จะกล่าว ในทำนองนี้ พึงลองพิจารณาดูเถิดว่า ไฉนใครจึงจะกล่าวเป็นอย่างเดียวกันได้ ในบริษัทหมู่หนึ่ง กับบริษัทอีกหมู่หนึ่ง ดูทีคงเป็นแต่ บทธรรม ซึ่งกล่าวเป็นอธรรมเท่านั้น จึงไม่นับเข้าด้วยกับภาษิต