รีวิว ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย
http://ilaw.or.th/node/4079
Credit:
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้iLaw วิเคราะห์ 7 ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ Wed, 2016-04-06 16:33 http://prachatai.com/journal/2016/04/65102
Credit: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://ppantip.com/topic/35011360
จากที่เคยคุยเรื่องการเลือกตั้งไว้ครั้งก่อน
http://ppantip.com/topic/34412426 ขอสรุปใจความคร่าวๆดังนี้
การเลือกตั้งที่ผ่านมาของไทยนั้น มีการนับคะแนนแบ่งเป็น 2 ส่วน คือคะแนนสส แบ่งเขต และ คะแนน สส แบบ
เลือกพรรคหรือบัญชีรายชื่อ ซึ่งการเลือกทั้ง 2 แบบไม่ได้นำคะแนนมารวมกัน แต่แบ่งแยกกันโดยเด็ดขาด กล่าวคือ
สัดส่วนของ สส แบ่งเขตไม่นำมาปะปนกับสสรายชื่อ ซึ่งทำให้การสัดส่วนของ สส ของพรรคที่ได้คะแนนมาก
ห่างกับคะแนนที่ได้จริง
**ขอใช้ผลการเลือกตั้งปี 48 เพราะเห็นได้ชัดมาก และช่วงนั้นยังเป็นช่วงก่อน รปห ซึ่งน่าจะสะท้อนเสียงของ
ปชช มากกว่ายุคหลังๆ และที่สำคัญ เราไม่ได้ทำเอง ถถถ**
ตามตาราง จะเห็นว่า คะแนนเสียงของ สสเขต ของพรรคไทยรักไทย มีจำนวน 51.10% ของผู้ที่มาเลือกตั้งทั้งหมด
แต่จำนวนที่นั่งสส ปาเข้าไป 75% ซึ่งน่าจะหมายถึงว่า การที่สสเขตของไทยรักไทยได้ที่นั่งสส แต่คะแนนที่ลงให้
ไม่ได้เป็นเอกฉันท์เสียทีเดียว ประมาณว่า ไม่ได้ชนะที่เสียงของปชช แต่ชนะที่จำนวนเขต
ในทางกลับกัน พรรคมหาชน ได้คำแนนเสียง(พรรค) 4.16% แต่ผลสุดท้ายได้ 2ที่นั่งซึ่งคิดเป็น 0.4% เท่านั้น
ซึ่งเป็น
แรงเหวี่ยงที่ไม่ยุติธรรมเท่าไหร่
หากพิจารณา
การเลือกตั้งของเยอรมัน Credit: อธิบายระบบการเลือกตั้ง German อ้างอิง [German federal election, 2013]
http://ppantip.com/topic/32926679 โดยคุณ Mic_Gunner
พบว่า ระบบของเยอรมัน มีความใกล้เคียง เสียง"ทั้งหมด" มากกว่า กล่าวคือ เสียงที่ทำการลงคะแนนทั้งหมดเลือก
พรรค CDU ประมาณ 34-37% จำนวนสส รวมทั้งหมดคือ 40% (ที่ได้เพิ่มขึ้นมาหน่อยเพราะมีการตัดพรรคเล็กออก
มิฉนั้นจะมีพรรคเล็กติดมาด้วยมากมาย)
ส่วน
ระบบเลือกตั้งใหม่ของมีชัยครั้งนี้
ไม่เหมือนครั้งที่แล้ว ตรงที่ว่าไม่ได้มีการนำเอา สส สอบตกมาเป็นคะแนนให้กับ party list
แต่เป็นการ "ติ๊ต่าง" ว่า เสียงที่เลือก สส เขต คือเสียงที่อยากให้พรรคนั้นทำงาน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนทั้งหมด ของสภาผู้แทน
โดยการใช้บัตรเลือกตั้งเพียงใบเดียว
กล่าวคือ คะแนนเสียงที่ได้ของพรรคหนึ่งๆ จะถูกเก็บรวมๆกันเพื่อหาสัดส่วนของ สสทั้งหมดในสภา เช่น หากคะแนนเสียงทั้งหมด
ที่เลือกพรรคเพื่อไทย(อ้างอิงตารางด้านบน) = 37% สส ในสภาทั้งหมด (รวมบัญชีรายชื่อ) จะมีได้ไม่เกิน 40 %
การคิดแบบนี้จะมีประโยชน์ต่อพรรคที่จำนวนประชากรที่ไปเลือกตั้งเยอะ และมีการเทคะแนนทั้งหมดให้ สส คนเดียวแบบไม่ทิ้งฝุ่น
ซึ่งการคิดแบบนี้ มีข้อบกพร่องหลักๆ 2 ประการ
1. การเลือกสส เขต ไม่ได้แปลว่า เป็นการเลือกพรรคไว้ทำงานในสภา เพราะ สส เขต ไม่สามารถเข้าร่วม ครมได้
(ยังอ่านร่างใหม่ไม่จบ หากตรงนี้เปลี่ยนไปแล้วในร่างใหม่ ช่วยชี้แนะด้วย)
2. การเลือกสสเขต คือเลือกคนที่เป็นตัวแทนให้กับเรา ซึ่งโดยมากจะเป็น สส บ้านเกิด ดังนั้น การทำงานในแต่ละพื้นที่
ของแต่ละพรรค อาจมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ที่ภาคเหนือ อาจจะมี สส เขต ของพรรค ปชป ที่ทำงานได้ดีกว่า
พรรคเพื่อไทย ดังนั้น สสเขตบางเขต อาจจะเป็นคนของพรร ปชป ก็ได้ แต่การทำงานใน ครม คนเขตนั้นอาจจะ
ต้องการคนของพรรค เพื่อไทยก็ได้ ดังนั้นเสียงส่วนนี้ มีความหมาย"ไม่เท่ากัน"
สรุปว่า
ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม (mixed member apportionment system หรือ MMA)
เป็นสิ่งที่ทำให้ได้เสียงเกิดแรงเหวี่ยงไม่มาก แต่การกำหนดให้มีบัตรเลือกตั้งแค่ใบเดียว
ไม่ใช่ระบบที่ถูกต้อง
สมควรมีบัตรเลือกตั้ง 2 ใบเหมือนเดิม แต่ใช้การคิดจำนวนสส เหมือนเยอรมัน จะดีกว่า
มิฉนั้น เสียงที่เคยโยนให้พรรคเล็ก อาจจะโยนเข้าไปที่พรรคใหญ่มากขึ้น และแน่นอน พรรคที่เคยทำผลงานได้ดี จะได้มากขึ้นในกรณีนี้
รีวิว ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย
Credit: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
จากที่เคยคุยเรื่องการเลือกตั้งไว้ครั้งก่อน http://ppantip.com/topic/34412426 ขอสรุปใจความคร่าวๆดังนี้
การเลือกตั้งที่ผ่านมาของไทยนั้น มีการนับคะแนนแบ่งเป็น 2 ส่วน คือคะแนนสส แบ่งเขต และ คะแนน สส แบบ
เลือกพรรคหรือบัญชีรายชื่อ ซึ่งการเลือกทั้ง 2 แบบไม่ได้นำคะแนนมารวมกัน แต่แบ่งแยกกันโดยเด็ดขาด กล่าวคือ
สัดส่วนของ สส แบ่งเขตไม่นำมาปะปนกับสสรายชื่อ ซึ่งทำให้การสัดส่วนของ สส ของพรรคที่ได้คะแนนมาก
ห่างกับคะแนนที่ได้จริง
**ขอใช้ผลการเลือกตั้งปี 48 เพราะเห็นได้ชัดมาก และช่วงนั้นยังเป็นช่วงก่อน รปห ซึ่งน่าจะสะท้อนเสียงของ
ปชช มากกว่ายุคหลังๆ และที่สำคัญ เราไม่ได้ทำเอง ถถถ**
ตามตาราง จะเห็นว่า คะแนนเสียงของ สสเขต ของพรรคไทยรักไทย มีจำนวน 51.10% ของผู้ที่มาเลือกตั้งทั้งหมด
แต่จำนวนที่นั่งสส ปาเข้าไป 75% ซึ่งน่าจะหมายถึงว่า การที่สสเขตของไทยรักไทยได้ที่นั่งสส แต่คะแนนที่ลงให้
ไม่ได้เป็นเอกฉันท์เสียทีเดียว ประมาณว่า ไม่ได้ชนะที่เสียงของปชช แต่ชนะที่จำนวนเขต
ในทางกลับกัน พรรคมหาชน ได้คำแนนเสียง(พรรค) 4.16% แต่ผลสุดท้ายได้ 2ที่นั่งซึ่งคิดเป็น 0.4% เท่านั้น
ซึ่งเป็นแรงเหวี่ยงที่ไม่ยุติธรรมเท่าไหร่
หากพิจารณาการเลือกตั้งของเยอรมัน Credit: อธิบายระบบการเลือกตั้ง German อ้างอิง [German federal election, 2013] http://ppantip.com/topic/32926679 โดยคุณ Mic_Gunner
พบว่า ระบบของเยอรมัน มีความใกล้เคียง เสียง"ทั้งหมด" มากกว่า กล่าวคือ เสียงที่ทำการลงคะแนนทั้งหมดเลือก
พรรค CDU ประมาณ 34-37% จำนวนสส รวมทั้งหมดคือ 40% (ที่ได้เพิ่มขึ้นมาหน่อยเพราะมีการตัดพรรคเล็กออก
มิฉนั้นจะมีพรรคเล็กติดมาด้วยมากมาย)
ส่วนระบบเลือกตั้งใหม่ของมีชัยครั้งนี้ ไม่เหมือนครั้งที่แล้ว ตรงที่ว่าไม่ได้มีการนำเอา สส สอบตกมาเป็นคะแนนให้กับ party list
แต่เป็นการ "ติ๊ต่าง" ว่า เสียงที่เลือก สส เขต คือเสียงที่อยากให้พรรคนั้นทำงาน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนทั้งหมด ของสภาผู้แทน
โดยการใช้บัตรเลือกตั้งเพียงใบเดียว
กล่าวคือ คะแนนเสียงที่ได้ของพรรคหนึ่งๆ จะถูกเก็บรวมๆกันเพื่อหาสัดส่วนของ สสทั้งหมดในสภา เช่น หากคะแนนเสียงทั้งหมด
ที่เลือกพรรคเพื่อไทย(อ้างอิงตารางด้านบน) = 37% สส ในสภาทั้งหมด (รวมบัญชีรายชื่อ) จะมีได้ไม่เกิน 40 %
การคิดแบบนี้จะมีประโยชน์ต่อพรรคที่จำนวนประชากรที่ไปเลือกตั้งเยอะ และมีการเทคะแนนทั้งหมดให้ สส คนเดียวแบบไม่ทิ้งฝุ่น
ซึ่งการคิดแบบนี้ มีข้อบกพร่องหลักๆ 2 ประการ
1. การเลือกสส เขต ไม่ได้แปลว่า เป็นการเลือกพรรคไว้ทำงานในสภา เพราะ สส เขต ไม่สามารถเข้าร่วม ครมได้
(ยังอ่านร่างใหม่ไม่จบ หากตรงนี้เปลี่ยนไปแล้วในร่างใหม่ ช่วยชี้แนะด้วย)
2. การเลือกสสเขต คือเลือกคนที่เป็นตัวแทนให้กับเรา ซึ่งโดยมากจะเป็น สส บ้านเกิด ดังนั้น การทำงานในแต่ละพื้นที่
ของแต่ละพรรค อาจมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ที่ภาคเหนือ อาจจะมี สส เขต ของพรรค ปชป ที่ทำงานได้ดีกว่า
พรรคเพื่อไทย ดังนั้น สสเขตบางเขต อาจจะเป็นคนของพรร ปชป ก็ได้ แต่การทำงานใน ครม คนเขตนั้นอาจจะ
ต้องการคนของพรรค เพื่อไทยก็ได้ ดังนั้นเสียงส่วนนี้ มีความหมาย"ไม่เท่ากัน"
สรุปว่า ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม (mixed member apportionment system หรือ MMA)
เป็นสิ่งที่ทำให้ได้เสียงเกิดแรงเหวี่ยงไม่มาก แต่การกำหนดให้มีบัตรเลือกตั้งแค่ใบเดียว ไม่ใช่ระบบที่ถูกต้อง
สมควรมีบัตรเลือกตั้ง 2 ใบเหมือนเดิม แต่ใช้การคิดจำนวนสส เหมือนเยอรมัน จะดีกว่า
มิฉนั้น เสียงที่เคยโยนให้พรรคเล็ก อาจจะโยนเข้าไปที่พรรคใหญ่มากขึ้น และแน่นอน พรรคที่เคยทำผลงานได้ดี จะได้มากขึ้นในกรณีนี้