ตะลึงงัน!! นาซาเผยแพร่ภาพใหม่ "กระจุกดาว" ใจกลางทางช้างเผือก - จากกล้องฮับเบิล !!!
นาซาเผยแพร่ภาพใหม่ จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล บันทึกภาพ ‘กระจุกดาว’
ดวงดาวหลายแสนดวงส่องแสงระยิบระยับสวยงาม บริเวณใจกลาง ‘ทางช้างเผือก’
ในระบบสุริยะของเรา
เมื่อวันที่ 2 เม.ย. 59 สำนักข่าวต่างประเทศรายงาน องค์การบริหารการบินและอวกาศ
แห่งชาติสหรัฐฯ (นาซา) เผยแพร่ภาพใหม่ บันทึกโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
โดยใช้เทคโนโลยีอินฟราเรด ถ่ายภาพกระจุกดาว (star cluster) ในบริเวณศูนย์กลาง
‘ทางช้างเผือก’ (Milky Way) ซึ่งคือดาราจักรที่มีระบบสุริยะและโลกของเรา แสดงให้เห็น
ภาพที่สร้างความตื่นตะลึง ดวงดาวมากมายกว่า 5 แสนดวงส่องแสงระยิบระยับสวยงามมาก
ตามรายงานของนาซา ระบุว่า กระจุกดาว (star cluster) ดังกล่าวนี้ อยู่ห่างจากโลกประมาณ
27,000 ปีแสง ถือเป็นบริเวณที่มีดวงดาวอยู่หนาแน่นมากที่สุดในกาแล็กซี่ของเรา
โดยเฟซบุ๊ก Hubble Space telescope ยังระบุว่า นักดาราศาสตร์ได้ใช้เทคโนโลยีอินฟราเรด
เจาะแทงทะลุเข้าไปในกลุ่มฝุ่นละอองระหว่างดวงดาว จากนั้น นักดาราศาสตร์ได้แปลภาพ
แสงอินฟราเรด ซึ่งดวงตาของมนุษย์ไม่อาจมองเห็น มาเป็นแสงที่คนเราสามารถมองเห็นได้
ทั้งนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ถูกส่งขึ้นไปโคจรนอกชั้นบรรยากาศโลกตั้งแต่
26 ปีก่อน เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์การนาซา และองค์การอวกาศยุโรป ถือเป็น
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์การศึกษาดาราศาสตร์ ทำให้
นักดาราศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์สำคัญต่างๆ มากมาย จนได้รับการกล่าวยกย่องว่า
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล คือ ดวงตาของเอกภพ
cr.ข่าว
http://www.thairath.co.th/content/600110
ตำแหน่งที่กล้องฮับเบิลถ่าย
ภาพขยายขนาด 1200 x 1037
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ภาพขยายขนาดขนาด 1.3 MB
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://hubblesite.org/newscenter/archive/releases/2016/11/image/a/format/large_web/
ภาพขยายขนาด 30.27 MB
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://hubblesite.org/newscenter/archive/releases/2016/11/image/a/format/xlarge_web/
คำอธิบายภาษาอังกฤษจาก hubblesite.org
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ABOUT THIS IMAGE:
Peering deep into the heart of our Milky Way galaxy, NASA's Hubble Space Telescope
reveals a rich tapestry of more than half a million stars. Except for a few blue, foreground
stars, the stars are part of the Milky Way's nuclear star cluster, the most massive
and densest star cluster in our galaxy. So packed with stars, it is equivalent to having
a million suns crammed into the volume of space between us and our closest stellar
neighbor, Alpha Centauri, 4.3 light-years away. At the very hub of our galaxy,
this star cluster surrounds the Milky Way's central supermassive black hole, which
is about 4 million times the mass of our sun.
Astronomers used Hubble's infrared vision to pierce through the dust in the disk of
our galaxy that obscures the star cluster. In this image, scientists translated
the infrared light, which is invisible to human eyes, into colors our eyes can see.
The red stars are either embedded or shrouded by intervening dust. Extremely
dense clouds of gas and dust are seen in silhouette, appearing dark against the
bright background stars. These clouds are so thick that even Hubble's infrared
capability could not penetrate them.
Hubble's sharp vision allowed astronomers to measure the movements of the stars
over four years. Using this information, scientists were able to infer important
properties such as the mass and structure of the nuclear star cluster. The motion
of the stars may also offer a glimpse into how the star cluster was formed — whether
it was built up over time by globular star clusters that happen to fall into the
galaxy's center, or from gas spiraling in from the Milky Way's disk to form
stars at the core.
This picture, spanning 50 light-years across, is a mosaic stitched from nine
separate images from Hubble's Wide Field Camera 3. The center of the Milky Way
is located 27,000 light-years away. The "snowstorm" of stars in the image is just
the tip of the iceberg: Astronomers estimate that about 10 million stars in this
cluster are too faint to be captured in this image.
cr. http://hubblesite.org/newscenter/archive/releases/2016/11/image/a/
https://www.facebook.com/HubbleTelescope/?fref=ts
พอดีเราอังกฤษงุๆปลาๆ เลยไม่กล้าแปลให้อะ ท่านใดมีความรู้เพิ่มเติมช่วยเสริมด้วยจ้า ^___^
ตะลึงงัน!! นาซาเผยแพร่ภาพใหม่ "กระจุกดาว" ใจกลางทางช้างเผือก - จากกล้องฮับเบิล !!!
นาซาเผยแพร่ภาพใหม่ จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล บันทึกภาพ ‘กระจุกดาว’
ดวงดาวหลายแสนดวงส่องแสงระยิบระยับสวยงาม บริเวณใจกลาง ‘ทางช้างเผือก’
ในระบบสุริยะของเรา
เมื่อวันที่ 2 เม.ย. 59 สำนักข่าวต่างประเทศรายงาน องค์การบริหารการบินและอวกาศ
แห่งชาติสหรัฐฯ (นาซา) เผยแพร่ภาพใหม่ บันทึกโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
โดยใช้เทคโนโลยีอินฟราเรด ถ่ายภาพกระจุกดาว (star cluster) ในบริเวณศูนย์กลาง
‘ทางช้างเผือก’ (Milky Way) ซึ่งคือดาราจักรที่มีระบบสุริยะและโลกของเรา แสดงให้เห็น
ภาพที่สร้างความตื่นตะลึง ดวงดาวมากมายกว่า 5 แสนดวงส่องแสงระยิบระยับสวยงามมาก
ตามรายงานของนาซา ระบุว่า กระจุกดาว (star cluster) ดังกล่าวนี้ อยู่ห่างจากโลกประมาณ
27,000 ปีแสง ถือเป็นบริเวณที่มีดวงดาวอยู่หนาแน่นมากที่สุดในกาแล็กซี่ของเรา
โดยเฟซบุ๊ก Hubble Space telescope ยังระบุว่า นักดาราศาสตร์ได้ใช้เทคโนโลยีอินฟราเรด
เจาะแทงทะลุเข้าไปในกลุ่มฝุ่นละอองระหว่างดวงดาว จากนั้น นักดาราศาสตร์ได้แปลภาพ
แสงอินฟราเรด ซึ่งดวงตาของมนุษย์ไม่อาจมองเห็น มาเป็นแสงที่คนเราสามารถมองเห็นได้
ทั้งนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ถูกส่งขึ้นไปโคจรนอกชั้นบรรยากาศโลกตั้งแต่
26 ปีก่อน เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์การนาซา และองค์การอวกาศยุโรป ถือเป็น
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์การศึกษาดาราศาสตร์ ทำให้
นักดาราศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์สำคัญต่างๆ มากมาย จนได้รับการกล่าวยกย่องว่า
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล คือ ดวงตาของเอกภพ
cr.ข่าว http://www.thairath.co.th/content/600110
ตำแหน่งที่กล้องฮับเบิลถ่าย
ภาพขยายขนาด 1200 x 1037
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ภาพขยายขนาดขนาด 1.3 MB
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ภาพขยายขนาด 30.27 MB
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
คำอธิบายภาษาอังกฤษจาก hubblesite.org
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พอดีเราอังกฤษงุๆปลาๆ เลยไม่กล้าแปลให้อะ ท่านใดมีความรู้เพิ่มเติมช่วยเสริมด้วยจ้า ^___^