.......ชวนะก็จะเกิดขึ้น ชวนะนั้นจะเป็นเหมือน
ชายที่เป็นแขกของวิถีจิตมีอาวัชชนะเป็นต้นที่เกิดขึ้นก่อน (มาเยี่ยมถึง)
ประตู คือตา (จักขุทวาร) ที่เท่ากับเป็นเรือน แม้เมื่อวิถีจิตมีอาวัชชนะ
เป็นต้น ไม่กำหนัด ไม่ขัดเคือง ไม่ลุ่มหลงในจักขุทวาร ที่เท่ากับเป็น
เรือนของอาวัชชนะเป็นต้น ชวนะนั้นจะกำหนัด จะขัดเคือง จะลุ่มหลง
ก็ไม่ถูก เหมือนกับชายที่เป็นแขก เข้าไปขออะไรบางอย่างที่เรือนคนอื่น
เมื่อเจ้าของบ้านนั่งนิ่ง จะทำการบังคับ ก็ไม่ถูกฉะนั้น พึงทราบอสัม-
โมหสัมปชัญญะ โดยเป็นเสมือนแขก ดังที่พรรณนามานี้........[มมร. ๑๗/๗๐๕/๑๕-๒๒]
กลอนจริง ทุกสิ่งเรือน .......
เปล่าไม่ได้มองอย่างนั้น ...ฉันเปล่า
เพียงมองเราเรือนชาน ...เสื้อผ้า
ลมหายใจยังไม่เฉา ...เลือนลาง
ลูกน้อยเราเขาว่า ...ยังเหงา เฝ้าคอย
เปล่าคอย ...ฉันเปล่า คอยเปล่า
ไปไม่กล่าว ...ฉันเปล่าให้ คอยหา
จากมาแล้ว ...ยังหวังเรา เฝ้าคอย
ไปไม่กลับ ...ลับฟ้า หาให้ หวนคืน
เปล่าน้ำตาฉันกล้า ...ฉันเปล่า
ชายเรือนแชเชือนเรา ...เปล่าให้
จากมาแล้วเพียงเงา ...เหงาใจ
จากมาแล้วตรงคงไว้ ...ให้หวง ห่วงรอ
............................... เปล่านอน ณ กลอนเปล่านะ ...สวัสดี *******
[343] กิจ หรือ วิญญาณกิจ 14 (กิจของวิญญาณ, หน้าที่ของจิต — functions of consciousness; psychic functions)
1. ปฏิสนธิ (หน้าที่สืบต่อภพใหม่ ได้แก่จิต 19 คือ อุเบกขาสันตีรณะ 2 มหาวิบาก 8 รูปวิบาก 5 อรูปวิบาก 4 — re-linking; rebirth-linking)
2. ภวังคะ (หน้าที่เป็นองค์ของภพ ได้แก่จิต 19 อย่างเดียวกับปฏิสนธิ — life-continuum; factor for being)
3. อาวัชชนะ (หน้าที่คำนึงอารมณ์ใหม่ ได้แก่ จิต 2 คือ ปัญจทวาราวัชชนะ และมโนทวาราวัชชนะ — apprehending; adverting)
4. ทัสสนะ (หน้าที่เห็นรูป ได้แก่ จักขุวิญญาณ 2 — seeing)
5. สวนะ (หน้าที่ได้ยินเสียง ได้แก่ โสตวิญญาณ 2 — hearing)
6. ฆายนะ (หน้าที่รู้กลิ่น ได้แก่ ฆานวิญญาณ 2 — smelling)
7. สายนะ (หน้าที่ลิ้มรส ได้แก่ ชิวหาวิญญาณ 2 — tasting)
8. ผุสนะ (หน้าที่ถูกต้องโผฏฐัพพะ ได้แก่ กายวิญญาณ 2 — contacting; touching)
9. สัมปฏิจฉนะ (หน้าที่รับอารมณ์ ได้แก่ สัมปฏิจฉนะ 2 — receiving)
10. สันตีรณะ (หน้าที่พิจารณาอารมณ์ ได้แก่ สันตีรณะ 3 — investigating)
11. โวฏฐัพพนะ หรือ โวฏฐปนะ (หน้าที่ตัดสินอารมณ์ ได้แก่ มโนทวาราวัชชนะ 1 — determining)
12. ชวนะ (หน้าที่แล่นเสพอารมณ์ อันเป็นช่วงที่ทำกรรม ได้แก่ จิต 55 คือ กุศลจิต 21, อกุศลจิต 12, กิริยาจิต 18 คือเว้นอาวัชชนะทั้งสอง โลกุตตรผลจิต 4 — apperception; impulsion)
13. ตทาลัมพนะ (หน้าที่รับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนตกภวังค์ ได้แก่ จิต 11 คือ มหาวิบาก 8 สันตีรณะ 3 — retention; registration)
14. จุติ (หน้าที่เคลื่อนจากภพปัจจุบัน ได้แก่ จิต 19 อย่างเดียวกับในปฏิสนธิ — decease; death; shifting)
จัดโดยฐานที่จิตทำกิจ 14 นี้ มี 10 คือ รวมข้อ 4-5-6-7-8 เป็นข้อเดียว คือ ปัญจวิญญาณฐาน (fivefold sense-impressions) นอกนั้นคงชื่อเดิม
กิจ 14 นี้ ในวิสุทธิมรรคเรียกว่า วิญญาณปวัตติ หรือ วิญญาณปวัตติอาการ (อาการที่วิญญาณเป็นไป — modes of occurrence of consciousness)
*หมายเหตุ ว่า บทที่อ่านแล้วข้างต้น ว่า
ชวนะจิต เป็นปุงลิงค์
เจ้าเรือน(จิต) ประกอบกิจคำนึงอารมณ์ใหม่เป็นข้อเดียว เป็นอิตถีลิงค์ ที่เป็นนปุงสกลิงค์ชั่วคราว หรือว่าอย่างไรกันแน่ .... ?
ลิงค์
ลิงค์ คือ เพศของนาม มีวิเคราะห์ว่า "ลิงฺคติ อิตฺถี ปุริโสติ วิภาคํ คจฺฉติ เอเตนาติ ลิงฺคํ เพศที่ใช้จำแนกนามว่าเป็นหญิงหรือ ชาย ชื่อว่าลิงค์" มี ๓ อย่าง คือ ปุงลิงค์ เพศชาย, อิตถีลิงค์ เพศหญิง, นปุงสกลิงค์ ไม่ใช่เพศชายเพศหญิง หรือไม่มีเพศ
ลิงค์ ๒ พวก คือ
๑. ลิงค์โดยกำเนิด คือ นามศัพท์ที่มีเพศตามกำเนิดของตัวจริง
เช่น ปุริโส ชาย เป็นปุงลิงค์
อิตฺถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์
จิตฺตํ จิต เป็นนปุงสกลิงค์
๒. ลิงค์โดยสมมติ คือนามศัพท์ที่มีเพศตามสมมุติขึ้น ไม่ตรงตามตัวจริง
เช่น ทาโร ภรรยา เป็นปุงลิงค์
ปฐวี แผ่นดิน เป็นอิตถีลิงค์
จำแนกนาม ๓ โดยลิงค์
๑. สุทธนาม บางศัพท์เป็นปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ หรือนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
เช่น ปุริโส ชาย เป็นปุงลิงค์อย่างเดียว
อิตฺถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว
จิตฺตํ จิต เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
๒. สุทธนาม บางศัพท์เป็นได้ ๒ ลิงค์
เช่น ราชา พระราชา เป็นปุงลิงค์
ราชินี พระราชินี เป็นอิตถีลิงค์
โพธิ โพธิกุมาร เป็นปุงลิงค์
โพธิ โพธิญาณ เป็นอิตถีลิงค์
ทิวโส ทิวสํ วัน เป็นปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์
๓. คุณนามและสัพพนาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เพราะต้องเปลี่ยนลิงค์ไปตามสุทธนามที่ตนขยายและใช้แทน
เช่น กลฺยาโณ ปุริโส ชายดี เป็นปุงลิงค์
กลฺยาณี อิตฺถี หญิงดี เป็นอิตถีลิงค์
กลฺยาณํ จิตฺตํ จิตดี เป็นนปุงสกลิงค์
โส ปุริโส ชายคนนั้น เป็นปุงลิงค์
สา อตฺถี หญิงคนนั้น เป็นอิตถีลิงค์
ตํ จิตฺตํ จิตดวงนั้น เป็นนปุงสกลิงค์
การันต์
การันต์ คืออักษรสุดท้ายของลิงค์ วิเคราะห์ว่า "การานํ อนฺตํ การนฺตํ อักษรสุดท้าย ชื่อว่าการันตะ" มี ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
จำแนกลิงค์ ๓ โดยการันต์ ๗
๑. ปุงลิงค์ มีการันต์ ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
เช่น ปุริส ชาย เป็นอการันต์
สา สุนัข เป็นอาการันต์
อคฺคิ ไฟ เป็นอิการันต์
ทณฺฑี ผู้มีไม้เท้า เป็นอีการันต์
ภิกฺขุ ภิกษุ เป็นอุการันต์
อภิภู ผู้เป็นใหญ่ เป็นอูการันต์
โค วัว เป็นโอการันต์
๒. อิตถีลิงค์ มีการันต์ ๕ คือ อา อิ อี อุ อู
เช่น กญฺญา สาวน้อย เป็นอาการันต์
รตฺติ กลางคืน เป็นอิการันต์
อิตฺถี หญิง เป็นอีการันต์
ยาคุ ข้าวยาคู เป็นอุการันต์
ชมฺพู ต้นหว้า เป็นอูการันต์
๓. นปุงสกลิงค์ มีการันต์ ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
เช่น จิตฺต จิต เป็นอการันต์
อสฺสทฺทา ไม่มีศรัทธา เป็นอาการันต์
อฏฺฐิ กระดูก เป็นอิการันต์
สุขการี ทำให้มีสุข เป็นอีการันต์
อายุ อายุ เป็นอุการันต์
โคตฺรภู ข้ามโคตร เป็นอูการันต์
จิตฺตโค วัวด่าง เป็นโอการันต์
วจนะหรือพจน์
วจนะหรือพจน์ คือคำที่บอกจำนวนของนามให้รู้ว่ามีน้อยหรือมาก วิเคราะห์ว่า "เอกตฺตํ วา พหุตฺตํ วาติ วจติ เอเตนาติ วจนํ คำที่ใช้บอกจำนวนว่าหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่ง ชื่อว่า วจนะ" มี ๒ คือ
๑. เอกวจนะหรือเอกพจน์ คำบอกจำนวนของนามว่ามีหนึ่ง
เช่น ปุริโส ชายหนึ่งคน
อิตฺถี หญิงหนึ่งคน
จิตฺตํ จิตหนึ่งดวง
๒. พหุวจนะหรือพหูพจน์ คำบอกจำนวนของนามว่ามีมาก
เช่น ปุริสา ชายหลายคน (หญิงทั้งหลาย)
อิตฺถิโย หญิงหลายคน (หญิงทั้งหลาย)
จิตฺตานิ จิตหลายดวง (หญิงทั้งหลาย)
วจนะทั้ง ๒ นี้ อยู่ที่วิภัตติ มีวิตติเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นเอกวจนะหรือพหุวจนะ
วิภัตติ
วิภัตติ คือศัพท์สำหรับประกอบหลังคำนาม จำแนกคำนามให้มีรูปและอรรถต่างกัน เพื่อให้มีเนื้อความสัมพันธ์กับบทอื่นในประโยคได้ วิเคราะห์ว่า "กมฺมาทิวเสน เอกตฺตาทิวเสน จ ลิงฺคตถํ วิภชนฺตีติ วิภตฺติโย ศัพท์ที่จำแนกอรรถของลิงค์ โดยกรรมและเอกพจน์เป็นต้น ชื่อว่าวิภัตติ" มี ๑๔ ตัว เป็นเอกพจน์ ๗ พหูพจน์ ๗
ขอท่านผู้รู้อธิบายเพิ่มเติมด้วย ภวังค์นั้นต้องอย่างไรแน่ อดีตภวังค์นี่ จะเป็นอิตถีลิงค์หรือไม่ใช่ ?
ชายที่เป็นแขกของวิถีจิตมีอาวัชชนะเป็นต้นที่เกิดขึ้นก่อน (มาเยี่ยมถึง)
ประตู คือตา (จักขุทวาร) ที่เท่ากับเป็นเรือน แม้เมื่อวิถีจิตมีอาวัชชนะ
เป็นต้น ไม่กำหนัด ไม่ขัดเคือง ไม่ลุ่มหลงในจักขุทวาร ที่เท่ากับเป็น
เรือนของอาวัชชนะเป็นต้น ชวนะนั้นจะกำหนัด จะขัดเคือง จะลุ่มหลง
ก็ไม่ถูก เหมือนกับชายที่เป็นแขก เข้าไปขออะไรบางอย่างที่เรือนคนอื่น
เมื่อเจ้าของบ้านนั่งนิ่ง จะทำการบังคับ ก็ไม่ถูกฉะนั้น พึงทราบอสัม-
โมหสัมปชัญญะ โดยเป็นเสมือนแขก ดังที่พรรณนามานี้........[มมร. ๑๗/๗๐๕/๑๕-๒๒]
กลอนจริง ทุกสิ่งเรือน .......
เปล่าไม่ได้มองอย่างนั้น ...ฉันเปล่า
เพียงมองเราเรือนชาน ...เสื้อผ้า
ลมหายใจยังไม่เฉา ...เลือนลาง
ลูกน้อยเราเขาว่า ...ยังเหงา เฝ้าคอย
เปล่าคอย ...ฉันเปล่า คอยเปล่า
ไปไม่กล่าว ...ฉันเปล่าให้ คอยหา
จากมาแล้ว ...ยังหวังเรา เฝ้าคอย
ไปไม่กลับ ...ลับฟ้า หาให้ หวนคืน
เปล่าน้ำตาฉันกล้า ...ฉันเปล่า
ชายเรือนแชเชือนเรา ...เปล่าให้
จากมาแล้วเพียงเงา ...เหงาใจ
จากมาแล้วตรงคงไว้ ...ให้หวง ห่วงรอ
............................... เปล่านอน ณ กลอนเปล่านะ ...สวัสดี *******
[343] กิจ หรือ วิญญาณกิจ 14 (กิจของวิญญาณ, หน้าที่ของจิต — functions of consciousness; psychic functions)
1. ปฏิสนธิ (หน้าที่สืบต่อภพใหม่ ได้แก่จิต 19 คือ อุเบกขาสันตีรณะ 2 มหาวิบาก 8 รูปวิบาก 5 อรูปวิบาก 4 — re-linking; rebirth-linking)
2. ภวังคะ (หน้าที่เป็นองค์ของภพ ได้แก่จิต 19 อย่างเดียวกับปฏิสนธิ — life-continuum; factor for being)
3. อาวัชชนะ (หน้าที่คำนึงอารมณ์ใหม่ ได้แก่ จิต 2 คือ ปัญจทวาราวัชชนะ และมโนทวาราวัชชนะ — apprehending; adverting)
4. ทัสสนะ (หน้าที่เห็นรูป ได้แก่ จักขุวิญญาณ 2 — seeing)
5. สวนะ (หน้าที่ได้ยินเสียง ได้แก่ โสตวิญญาณ 2 — hearing)
6. ฆายนะ (หน้าที่รู้กลิ่น ได้แก่ ฆานวิญญาณ 2 — smelling)
7. สายนะ (หน้าที่ลิ้มรส ได้แก่ ชิวหาวิญญาณ 2 — tasting)
8. ผุสนะ (หน้าที่ถูกต้องโผฏฐัพพะ ได้แก่ กายวิญญาณ 2 — contacting; touching)
9. สัมปฏิจฉนะ (หน้าที่รับอารมณ์ ได้แก่ สัมปฏิจฉนะ 2 — receiving)
10. สันตีรณะ (หน้าที่พิจารณาอารมณ์ ได้แก่ สันตีรณะ 3 — investigating)
11. โวฏฐัพพนะ หรือ โวฏฐปนะ (หน้าที่ตัดสินอารมณ์ ได้แก่ มโนทวาราวัชชนะ 1 — determining)
12. ชวนะ (หน้าที่แล่นเสพอารมณ์ อันเป็นช่วงที่ทำกรรม ได้แก่ จิต 55 คือ กุศลจิต 21, อกุศลจิต 12, กิริยาจิต 18 คือเว้นอาวัชชนะทั้งสอง โลกุตตรผลจิต 4 — apperception; impulsion)
13. ตทาลัมพนะ (หน้าที่รับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนตกภวังค์ ได้แก่ จิต 11 คือ มหาวิบาก 8 สันตีรณะ 3 — retention; registration)
14. จุติ (หน้าที่เคลื่อนจากภพปัจจุบัน ได้แก่ จิต 19 อย่างเดียวกับในปฏิสนธิ — decease; death; shifting)
จัดโดยฐานที่จิตทำกิจ 14 นี้ มี 10 คือ รวมข้อ 4-5-6-7-8 เป็นข้อเดียว คือ ปัญจวิญญาณฐาน (fivefold sense-impressions) นอกนั้นคงชื่อเดิม
กิจ 14 นี้ ในวิสุทธิมรรคเรียกว่า วิญญาณปวัตติ หรือ วิญญาณปวัตติอาการ (อาการที่วิญญาณเป็นไป — modes of occurrence of consciousness)
*หมายเหตุ ว่า บทที่อ่านแล้วข้างต้น ว่า ชวนะจิต เป็นปุงลิงค์
เจ้าเรือน(จิต) ประกอบกิจคำนึงอารมณ์ใหม่เป็นข้อเดียว เป็นอิตถีลิงค์ ที่เป็นนปุงสกลิงค์ชั่วคราว หรือว่าอย่างไรกันแน่ .... ?
ลิงค์
ลิงค์ คือ เพศของนาม มีวิเคราะห์ว่า "ลิงฺคติ อิตฺถี ปุริโสติ วิภาคํ คจฺฉติ เอเตนาติ ลิงฺคํ เพศที่ใช้จำแนกนามว่าเป็นหญิงหรือ ชาย ชื่อว่าลิงค์" มี ๓ อย่าง คือ ปุงลิงค์ เพศชาย, อิตถีลิงค์ เพศหญิง, นปุงสกลิงค์ ไม่ใช่เพศชายเพศหญิง หรือไม่มีเพศ
ลิงค์ ๒ พวก คือ
๑. ลิงค์โดยกำเนิด คือ นามศัพท์ที่มีเพศตามกำเนิดของตัวจริง
เช่น ปุริโส ชาย เป็นปุงลิงค์
อิตฺถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์
จิตฺตํ จิต เป็นนปุงสกลิงค์
๒. ลิงค์โดยสมมติ คือนามศัพท์ที่มีเพศตามสมมุติขึ้น ไม่ตรงตามตัวจริง
เช่น ทาโร ภรรยา เป็นปุงลิงค์
ปฐวี แผ่นดิน เป็นอิตถีลิงค์
จำแนกนาม ๓ โดยลิงค์
๑. สุทธนาม บางศัพท์เป็นปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ หรือนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
เช่น ปุริโส ชาย เป็นปุงลิงค์อย่างเดียว
อิตฺถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์อย่างเดียว
จิตฺตํ จิต เป็นนปุงสกลิงค์อย่างเดียว
๒. สุทธนาม บางศัพท์เป็นได้ ๒ ลิงค์
เช่น ราชา พระราชา เป็นปุงลิงค์
ราชินี พระราชินี เป็นอิตถีลิงค์
โพธิ โพธิกุมาร เป็นปุงลิงค์
โพธิ โพธิญาณ เป็นอิตถีลิงค์
ทิวโส ทิวสํ วัน เป็นปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์
๓. คุณนามและสัพพนาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เพราะต้องเปลี่ยนลิงค์ไปตามสุทธนามที่ตนขยายและใช้แทน
เช่น กลฺยาโณ ปุริโส ชายดี เป็นปุงลิงค์
กลฺยาณี อิตฺถี หญิงดี เป็นอิตถีลิงค์
กลฺยาณํ จิตฺตํ จิตดี เป็นนปุงสกลิงค์
โส ปุริโส ชายคนนั้น เป็นปุงลิงค์
สา อตฺถี หญิงคนนั้น เป็นอิตถีลิงค์
ตํ จิตฺตํ จิตดวงนั้น เป็นนปุงสกลิงค์
การันต์
การันต์ คืออักษรสุดท้ายของลิงค์ วิเคราะห์ว่า "การานํ อนฺตํ การนฺตํ อักษรสุดท้าย ชื่อว่าการันตะ" มี ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
จำแนกลิงค์ ๓ โดยการันต์ ๗
๑. ปุงลิงค์ มีการันต์ ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
เช่น ปุริส ชาย เป็นอการันต์
สา สุนัข เป็นอาการันต์
อคฺคิ ไฟ เป็นอิการันต์
ทณฺฑี ผู้มีไม้เท้า เป็นอีการันต์
ภิกฺขุ ภิกษุ เป็นอุการันต์
อภิภู ผู้เป็นใหญ่ เป็นอูการันต์
โค วัว เป็นโอการันต์
๒. อิตถีลิงค์ มีการันต์ ๕ คือ อา อิ อี อุ อู
เช่น กญฺญา สาวน้อย เป็นอาการันต์
รตฺติ กลางคืน เป็นอิการันต์
อิตฺถี หญิง เป็นอีการันต์
ยาคุ ข้าวยาคู เป็นอุการันต์
ชมฺพู ต้นหว้า เป็นอูการันต์
๓. นปุงสกลิงค์ มีการันต์ ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ
เช่น จิตฺต จิต เป็นอการันต์
อสฺสทฺทา ไม่มีศรัทธา เป็นอาการันต์
อฏฺฐิ กระดูก เป็นอิการันต์
สุขการี ทำให้มีสุข เป็นอีการันต์
อายุ อายุ เป็นอุการันต์
โคตฺรภู ข้ามโคตร เป็นอูการันต์
จิตฺตโค วัวด่าง เป็นโอการันต์
วจนะหรือพจน์
วจนะหรือพจน์ คือคำที่บอกจำนวนของนามให้รู้ว่ามีน้อยหรือมาก วิเคราะห์ว่า "เอกตฺตํ วา พหุตฺตํ วาติ วจติ เอเตนาติ วจนํ คำที่ใช้บอกจำนวนว่าหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่ง ชื่อว่า วจนะ" มี ๒ คือ
๑. เอกวจนะหรือเอกพจน์ คำบอกจำนวนของนามว่ามีหนึ่ง
เช่น ปุริโส ชายหนึ่งคน
อิตฺถี หญิงหนึ่งคน
จิตฺตํ จิตหนึ่งดวง
๒. พหุวจนะหรือพหูพจน์ คำบอกจำนวนของนามว่ามีมาก
เช่น ปุริสา ชายหลายคน (หญิงทั้งหลาย)
อิตฺถิโย หญิงหลายคน (หญิงทั้งหลาย)
จิตฺตานิ จิตหลายดวง (หญิงทั้งหลาย)
วจนะทั้ง ๒ นี้ อยู่ที่วิภัตติ มีวิตติเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นเอกวจนะหรือพหุวจนะ
วิภัตติ
วิภัตติ คือศัพท์สำหรับประกอบหลังคำนาม จำแนกคำนามให้มีรูปและอรรถต่างกัน เพื่อให้มีเนื้อความสัมพันธ์กับบทอื่นในประโยคได้ วิเคราะห์ว่า "กมฺมาทิวเสน เอกตฺตาทิวเสน จ ลิงฺคตถํ วิภชนฺตีติ วิภตฺติโย ศัพท์ที่จำแนกอรรถของลิงค์ โดยกรรมและเอกพจน์เป็นต้น ชื่อว่าวิภัตติ" มี ๑๔ ตัว เป็นเอกพจน์ ๗ พหูพจน์ ๗