สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 40
ดังนั้น ประเด็นปัญหา มันจึงอยู่ตรงที่ว่า ท่านคันโตนา คิดไปเองว่าตนเองถูกต้อง โดยยึดเอาความเชื่อของตน ว่าเป็นความจริง
แต่มันจะจริงไปได้อย่างไรหละครับท่าน ? มันก็แค่ ความเชื่อของท่าน แค่นั้นแหละ
ผมเห็นแบบนี้นะครับ
ปัญหามันไม่ได้อยู่ที่ความเชื่อผมหรอกครับ
ปัญหามันอยู่ที่นักวิชาเกินเหล่านั้นกล่าวโดยหาหลักฐานไม่ได้
จนบัดนี้ก็ยังไม่มีหลักฐานแม้แต่ชิ้นเดียว
นอกจากจินตนาการและจินตนาการน่ะครับ
แต่มันจะจริงไปได้อย่างไรหละครับท่าน ? มันก็แค่ ความเชื่อของท่าน แค่นั้นแหละ
ผมเห็นแบบนี้นะครับ
ปัญหามันไม่ได้อยู่ที่ความเชื่อผมหรอกครับ
ปัญหามันอยู่ที่นักวิชาเกินเหล่านั้นกล่าวโดยหาหลักฐานไม่ได้
จนบัดนี้ก็ยังไม่มีหลักฐานแม้แต่ชิ้นเดียว
นอกจากจินตนาการและจินตนาการน่ะครับ
ความคิดเห็นที่ 37
นิพพานของพุทธทาส หลายส่วนตรงตามตำรา
แต่นิพพานหลายส่วนไม่ตรง เช่นนิพพานชิมลอง ที่กล่าวว่ามีคุณภาพเหมือนกับ นิพพานแท้ๆ ต่างกันแต่ระยะเวลาการเกิดเท่านั้น
เรื่องนี้ เกี่ยวข้องกับวิธีการปฏิบัติ หรือวิปัสสนา ที่จะทำให้เข้าถึง นิพพานที่เป็นนิพพานในพุทธศาสนา
หากมีผู้ศึกษาต้องการ ศึกษาเรื่องนิพพานชิมลอง ในพระไตรปิฏก ผู้ศึกษาจะต้องไปนึกเทียบว่า ตรงกับสภาวะอะไรกันแน่ในพระไตรปิฏก
ซึ่งก็ไม่ทราบจะต้องไปเทียบให้เสียเวลาทำไม ก็ศึกษาและวิปัสสนาไปตามสภาวะพระไตรปิฏกก็แน่ใจได้กว่า
หากผู้อ่านเรื่องนิพพานชิมลองไม่ค้นคว้าต่อ ไม่ศึกษาต่อ ก็ยิ่งจะเข้าใจผิดคิดว่า นิพพานของพระอริย ก็คือนิพพานชิมลองนี่แหละ
แต่ต่างกันแค่นิพพานของพระอริยะ เป็นนิพพานเกิดขึ้นตลอดเวลา ซึ่ง ทำให้ขาดโอกาส ขาดประโยชน์ไป ยิ่งกว่านั้นเป็นการบิดเบือนพระสัทธรรม บิดเบือนจุดหมายของพุทธศาสนาให้เพี้ยนไป
พระอริยเจ้า ที่เคยมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านก็ไม่ได้มีนิพพานเป็นอารมณ์ตลอดเวลา
ปกติท่านก็จะมีสติรู้ตัว มีรูปนามเป็นอารมณ์เหมือนเราๆ นี่แหละ แต่จิตของท่านที่รู้อารมณ์มีเจตสิกที่มีคุณภาพดี(โสภณเจตสิก)เกิดประกอบมากกว่าปุถุชนมาก ท่านไม่ได้อยู่ในสภาวะมีนิพพานเป็นอารมณ์ตลอดเวลา
หากท่านประสงค์จะมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านก็จะเข้าสมาบัติ ตามสถานะของท่าน
การจะมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านต้องเข้าสมาบัติ นะคะ ไม่ใช่ตื่นนอนท่านก็นึกๆ เอาว่า พยายามไม่ให้มีอารมณ์
ผิดทั้ง เป้าหมาย ผิดทั้งวิธีการ ค่ะ
แต่นิพพานหลายส่วนไม่ตรง เช่นนิพพานชิมลอง ที่กล่าวว่ามีคุณภาพเหมือนกับ นิพพานแท้ๆ ต่างกันแต่ระยะเวลาการเกิดเท่านั้น
เรื่องนี้ เกี่ยวข้องกับวิธีการปฏิบัติ หรือวิปัสสนา ที่จะทำให้เข้าถึง นิพพานที่เป็นนิพพานในพุทธศาสนา
หากมีผู้ศึกษาต้องการ ศึกษาเรื่องนิพพานชิมลอง ในพระไตรปิฏก ผู้ศึกษาจะต้องไปนึกเทียบว่า ตรงกับสภาวะอะไรกันแน่ในพระไตรปิฏก
ซึ่งก็ไม่ทราบจะต้องไปเทียบให้เสียเวลาทำไม ก็ศึกษาและวิปัสสนาไปตามสภาวะพระไตรปิฏกก็แน่ใจได้กว่า
หากผู้อ่านเรื่องนิพพานชิมลองไม่ค้นคว้าต่อ ไม่ศึกษาต่อ ก็ยิ่งจะเข้าใจผิดคิดว่า นิพพานของพระอริย ก็คือนิพพานชิมลองนี่แหละ
แต่ต่างกันแค่นิพพานของพระอริยะ เป็นนิพพานเกิดขึ้นตลอดเวลา ซึ่ง ทำให้ขาดโอกาส ขาดประโยชน์ไป ยิ่งกว่านั้นเป็นการบิดเบือนพระสัทธรรม บิดเบือนจุดหมายของพุทธศาสนาให้เพี้ยนไป
พระอริยเจ้า ที่เคยมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านก็ไม่ได้มีนิพพานเป็นอารมณ์ตลอดเวลา
ปกติท่านก็จะมีสติรู้ตัว มีรูปนามเป็นอารมณ์เหมือนเราๆ นี่แหละ แต่จิตของท่านที่รู้อารมณ์มีเจตสิกที่มีคุณภาพดี(โสภณเจตสิก)เกิดประกอบมากกว่าปุถุชนมาก ท่านไม่ได้อยู่ในสภาวะมีนิพพานเป็นอารมณ์ตลอดเวลา
หากท่านประสงค์จะมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านก็จะเข้าสมาบัติ ตามสถานะของท่าน
การจะมีนิพพานเป็นอารมณ์ ท่านต้องเข้าสมาบัติ นะคะ ไม่ใช่ตื่นนอนท่านก็นึกๆ เอาว่า พยายามไม่ให้มีอารมณ์
ผิดทั้ง เป้าหมาย ผิดทั้งวิธีการ ค่ะ
ความคิดเห็นที่ 34
ะผมไม่ได้อ้างแค่หนังสือ หน้า สองหน้า นะครับ
แต่ผมอ้างงานทางวิชาการหลาบชิ้น อ้างตำราวิชาการ ตำราเรียนหลายเล่ม
อ้าง มติ นักวิชาการหลายท่าน และหลักฐานทางโบราณคดี ผ่านนักวิชาการอีกหลายชิ้น นะครับท่าน
ไม่สั้นหรอกครับ
เพราะจำได้ชัดเจนว่า
มีแต่มติประเภทคิดเองเออเอง
แต่ไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้แม้แต่ชิ้นเดียวที่ระบุว่าพระพุทธโฆสะเผาบาลีพระไตร
หรือมิใช่
บอกคัมภีร์นี้บอกไว้ พอถามจี้ว่าหน้าไหนของคัมภีร์.......เงียบ
เพราะจริงๆคัมภีร์ไม่ได้บอกไว้หรอก นักวิชาเกินมันจิ้นเอาเองว่าคัมภีร์บอก
หรือมิใช่
ดังนั้น ถ้าจะมีอะไรผิดพลาด ก็อาจเป็นว่า นักวิชาการ ผู้รู้ นักปราชญ์ ทั้งหลาย ที่ผมอ้างอิง
ท่านมีการศึกษา ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความคิดความอ่าน และเหตุผล น้อยไปกว่า คนอย่างท่านคันโตนา ฯลฯ มั้งครับ
ถ้าใช้หลักฐานมากกว่าจินตนาการ
ก็๋คงมีเหตุผลมากกว่านี้กระมังครับ
จะบอกว่าเป็นผู้รู้เป็นปราชญ์ กล่าวสรุปแบบนี้แต่พอถามหลักฐานดันใบ้กิน ถามคัมภีร์หน้าไหนที่บอก เงียบกริบ
แถมพอไปค้นคัมภีร์ที่อ้าง กลับเจอว่าข้างในนั้นไม่เห็นกล่าวเหมือนมติประหลาดเลย
แบบนี้คงเรียกปราชญ์ไม่ได้หรอกครับ
ถ้าประหลาด คงพอไหว
แต่ผมอ้างงานทางวิชาการหลาบชิ้น อ้างตำราวิชาการ ตำราเรียนหลายเล่ม
อ้าง มติ นักวิชาการหลายท่าน และหลักฐานทางโบราณคดี ผ่านนักวิชาการอีกหลายชิ้น นะครับท่าน
ไม่สั้นหรอกครับ
เพราะจำได้ชัดเจนว่า
มีแต่มติประเภทคิดเองเออเอง
แต่ไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้แม้แต่ชิ้นเดียวที่ระบุว่าพระพุทธโฆสะเผาบาลีพระไตร
หรือมิใช่
บอกคัมภีร์นี้บอกไว้ พอถามจี้ว่าหน้าไหนของคัมภีร์.......เงียบ
เพราะจริงๆคัมภีร์ไม่ได้บอกไว้หรอก นักวิชาเกินมันจิ้นเอาเองว่าคัมภีร์บอก
หรือมิใช่
ดังนั้น ถ้าจะมีอะไรผิดพลาด ก็อาจเป็นว่า นักวิชาการ ผู้รู้ นักปราชญ์ ทั้งหลาย ที่ผมอ้างอิง
ท่านมีการศึกษา ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความคิดความอ่าน และเหตุผล น้อยไปกว่า คนอย่างท่านคันโตนา ฯลฯ มั้งครับ
ถ้าใช้หลักฐานมากกว่าจินตนาการ
ก็๋คงมีเหตุผลมากกว่านี้กระมังครับ
จะบอกว่าเป็นผู้รู้เป็นปราชญ์ กล่าวสรุปแบบนี้แต่พอถามหลักฐานดันใบ้กิน ถามคัมภีร์หน้าไหนที่บอก เงียบกริบ
แถมพอไปค้นคัมภีร์ที่อ้าง กลับเจอว่าข้างในนั้นไม่เห็นกล่าวเหมือนมติประหลาดเลย
แบบนี้คงเรียกปราชญ์ไม่ได้หรอกครับ
ถ้าประหลาด คงพอไหว
แสดงความคิดเห็น
จิตว่าง ไม่มี เพราะจิตไม่เคยว่างจากอารมณ์ได้เลย
สาธุ
หากเข้าใจผิดประการใด ขอกราบขอขมากรรมต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ ครับ