พระพรหมคุณาภรณ: ผมพูดเรื่องปลีกยอยแทรกเขามาเยอะแยะ แตทานทั้งหลายเขาใจใชไหม ประเด็นปลีกยอยมีอะไรอีกไหม?
พระนวกะ: ที่เอ่ยถึงท่านพุทธทาสครับ
พระพรหมคุณาภรณ: เรื่องทานพุทธทาส ออ… ที่คุณสุจิตตพูดนะ ตองชี้แจงใหญาติโยมรูดวยวา ทานพุทธทาสนั้น ทานเป็นเถรวาทเต็มตัว หนึ่ง ในระดับสมมติ คือโดยรูปแบบ ตามขอตกลงทางสังคมทานบวชเป็นพระภิกษุเถรวาท อยูในนิกายที่เรียกวาเถรวาทเต็มที่ เพราะทานบวชอยางเรานี่แหละ ทานก็เป็นพระเถรวาทเต็มตัว สอง ในแงของความคิด ทางคําสอน อันนี้เราจะตองรูจักทานดวย คือทานพุทธทาสก็ไดพูดถึงเถรวาท อาจจะพบไดหลายแหง เทาที่พอจะสรุปในที่นี้ ผมสรุปใหทานนะ ไมตองเชื่อผม ผมพูดเป็นจุดตั้งให นิมนตไปตรวจสอบเอง สรุปไดวาทานพูด ๒ แบบ ตอนนี้ เรามาพูดถึงทานพุทธทาสโดยแยกความหมายตามทางของภาษา คือในภาษาที่ชาวพุทธชอบยกมาพูดกัน ภาษาหนึ่งคือภาษาในระดับสมมติ ซึ่งเถรวาทเป็นเรื่องของสมมติบัญญัติ สวนอีกภาษาหนึ่ง ชี้เลยสมมติบัญญัติ ขามไปที่สภาวะกันเลย
๑) ในระดับสมมติบัญญัติ ทานพุทธทาสทานก็พูดตรงๆ เพราะทานก็ยอมรับวาทานเป็นพระเถรวาท ทานก็จะใหคนมองและใหปฏิบัติตอเถรวาทใหเหมาะสมตามเรื่องของสมมติบัญญัตินั้น เชน ทานแนะนําวา พระเถรวาทนี้ถือตามหลักธรรมวินัยที่สอนไวแตเดิมนะ เพราะฉะนั้นเวลาจะปฏิบัติตอทาน อยางศาล ก็ขอให้ระมัดระวังตามวินัยของทานดวย นี่พูดในระดับสมมติ๒) ทีนี้ อีกแบบหนึ่ง เมื่อพูดในระดับปรมัตถ ถาพูดในแง่ของธรรมแทๆ ตามสภาวะ ก็มีแตตัวความจริง ไมมีเถรวาท ไมมีมหายาน เขาใจไหมครับ ตรงนี้มันไมถูกสมมติ ไมมีบญญัติ พอเอาที่ความจริงตามสภาวะนั่น ก็ไมตองพูดถึงรูปแบบกันที่ผมใชคำแบบนี้ ก็เป็นการสื่อสาร โดยพูดถึงทานพุทธทาสในภาษาแบบที่ชาวพุทธนิยมบอกกัน คือ เอาคําวาสมมติบัญญัติและคําวาปรมัตถมากํากับไว้แตเวลาที่ทานพุทธทาสพูดเองนั้น ทานพูดเป็นเฉพาะกรณีเฉพาะคราว ในเรื่องนั้นๆ
คราวหนึ่งก็พูดถึงวา เถรวาทเป็นอยางนี้นะ ชวยดูแลดวยปฏิบัติตอทานใหเหมาะนะ อยางวาถาเป็นศาล ก็ชวยระวังวินัยของทานไวดวย อะไรทํานองนี้ นี่ทานก็ไมไดใชคําแยกวาเป็นสมมติบัญญัตอะไร ทานก็พูดเฉพาะคราวนั้นเสร็จไปแลวพูดอีกคราวหนึ่ง ก็บอกวา มันไมมีหรอกเถรวาท ไมมีหรอกมหายาน อันนี้ทานก็ไมใสคําแยกแยะเขาไปดวย วากันตามสภาวะ เถรวาทก็ไมมี พุทธทาสก็ไมมี เหมือนกับมหายาน ก็ไมมีความจริงมันก็เป็นความจริง เป็นการตระหนักรูพรอมอยูในตัวก็อยูที่คนผูศึกษา เมื่อไปอานคําของทาน จะตองเขาใจใหถึง
เหมือนโยมไปเขากรรมฐานเจริญวิปสสนาดูสภาวะ จะอยูที่บานหรือในวัด เป็นคฤหัสถหรือเป็นพระ ไมตองนึกคิด ก็ตระหนักอยูรูทันพรอม
ถาเรามีหลักในการอาน เราก็มองออกวา ทานไมไดพูดขัดแยงกัน เดี๋ยวจะบอกวา เอะ! ทานพุทธทาสทําไมพูดขัดแยงกับตัวทานเอง มาพูดตรงนี้วา เถรวาทเป็นอยางนี้นะ ชวยทําใหเหมาะกับพระเถรวาทดวย นี่ยอมรับเถรวาท อาว แลวไปพูดอีกแหงหนึ่งบอกวา เถรวาทไมมี มหายานไมมี ก็จะกลายเป็นวาจะเลนงานทานพุทธทาสไปเลย แตถาเอามาแยกแยะอยางนี้ ก็เขาใจได ใชไหม ทานพุทธทาสเองทานก็พยายามพูด ทานวามี “ภาษาคนภาษาธรรม” แตถาไมใชคํานั้น ก็พูดไปตามถอยคําแบบเดิมทํานองวา ภาษาสมมติบัญญัติ ภาษาปรมัตถ์เลยตอไปอีก ถาจะใชคําของพระพุทธเจา ก็ตองรูวาพระพุทธเจาเองไมไดทรงใชคํานี้ แตทรงใชคําวา “โวหาร” อยางในพระสูตรหนึ่ง พระองคตรัสถึงเรื่องวา พระองคไมขัดแยงกับชาวโลกชาวโลกเขาพูดกันไป ทั้งๆ ที่วาโดยสภาวะความเป็นจริงแลว มันไมไดเป็นอยางนั้น พระองคก็ตรัสไปตามโวหารของชาวโลกนั้นนี่เป็นเรื่องของภาษาที่ชาวโลกเขาพูดกัน เพราะวามนุษยสื่อสารกันไดดวยอาศัยภาษา เมื่อใชภาษาก็ตองอาศัยสมมติ ตองวาไปตามบัญญัติ ถาเราปอกเปลือกภาษาออกไป จึงจะถึงเนื้อหาสาระแทที่เป็นสภาวะ ซึ่งไมมีภาษาที่จะสื่อ เป็นตัวความจริง แตภาษามีประโยชนไหม ก็มีสิ คือมาสื่อสาร ก็สื่อสาระนั้น ทําใหอธิบายชี้แจงกันได ชวยใหเขาใจ เป็นบันไดที่จะกาวไปรูถึงสภาวะโนน สํานวนเซนเขาบอกวา เหมือนกับนิ้วซึ่งชี้ไปที่พระจันทร นิ้วชี้ไปที่พระจันทร นิ้วไมใชพระจันทร แตช่วยใหหันไปดูและเห็นพระจันทร ภาษาก็เหมือนกับนิ้วซึ่งชี้ไปที่พระจันทร จุดมุงของเราอยูที่พระจันทร อยาเอานิ้วเป็นพระจันทร และอยาติดอยูแคนิ้ว อะไรทํานองนี้
กาลามสูตรกับพุทธทาส
พระนวกะ: ที่เอ่ยถึงท่านพุทธทาสครับ
พระพรหมคุณาภรณ: เรื่องทานพุทธทาส ออ… ที่คุณสุจิตตพูดนะ ตองชี้แจงใหญาติโยมรูดวยวา ทานพุทธทาสนั้น ทานเป็นเถรวาทเต็มตัว หนึ่ง ในระดับสมมติ คือโดยรูปแบบ ตามขอตกลงทางสังคมทานบวชเป็นพระภิกษุเถรวาท อยูในนิกายที่เรียกวาเถรวาทเต็มที่ เพราะทานบวชอยางเรานี่แหละ ทานก็เป็นพระเถรวาทเต็มตัว สอง ในแงของความคิด ทางคําสอน อันนี้เราจะตองรูจักทานดวย คือทานพุทธทาสก็ไดพูดถึงเถรวาท อาจจะพบไดหลายแหง เทาที่พอจะสรุปในที่นี้ ผมสรุปใหทานนะ ไมตองเชื่อผม ผมพูดเป็นจุดตั้งให นิมนตไปตรวจสอบเอง สรุปไดวาทานพูด ๒ แบบ ตอนนี้ เรามาพูดถึงทานพุทธทาสโดยแยกความหมายตามทางของภาษา คือในภาษาที่ชาวพุทธชอบยกมาพูดกัน ภาษาหนึ่งคือภาษาในระดับสมมติ ซึ่งเถรวาทเป็นเรื่องของสมมติบัญญัติ สวนอีกภาษาหนึ่ง ชี้เลยสมมติบัญญัติ ขามไปที่สภาวะกันเลย
๑) ในระดับสมมติบัญญัติ ทานพุทธทาสทานก็พูดตรงๆ เพราะทานก็ยอมรับวาทานเป็นพระเถรวาท ทานก็จะใหคนมองและใหปฏิบัติตอเถรวาทใหเหมาะสมตามเรื่องของสมมติบัญญัตินั้น เชน ทานแนะนําวา พระเถรวาทนี้ถือตามหลักธรรมวินัยที่สอนไวแตเดิมนะ เพราะฉะนั้นเวลาจะปฏิบัติตอทาน อยางศาล ก็ขอให้ระมัดระวังตามวินัยของทานดวย นี่พูดในระดับสมมติ๒) ทีนี้ อีกแบบหนึ่ง เมื่อพูดในระดับปรมัตถ ถาพูดในแง่ของธรรมแทๆ ตามสภาวะ ก็มีแตตัวความจริง ไมมีเถรวาท ไมมีมหายาน เขาใจไหมครับ ตรงนี้มันไมถูกสมมติ ไมมีบญญัติ พอเอาที่ความจริงตามสภาวะนั่น ก็ไมตองพูดถึงรูปแบบกันที่ผมใชคำแบบนี้ ก็เป็นการสื่อสาร โดยพูดถึงทานพุทธทาสในภาษาแบบที่ชาวพุทธนิยมบอกกัน คือ เอาคําวาสมมติบัญญัติและคําวาปรมัตถมากํากับไว้แตเวลาที่ทานพุทธทาสพูดเองนั้น ทานพูดเป็นเฉพาะกรณีเฉพาะคราว ในเรื่องนั้นๆ
คราวหนึ่งก็พูดถึงวา เถรวาทเป็นอยางนี้นะ ชวยดูแลดวยปฏิบัติตอทานใหเหมาะนะ อยางวาถาเป็นศาล ก็ชวยระวังวินัยของทานไวดวย อะไรทํานองนี้ นี่ทานก็ไมไดใชคําแยกวาเป็นสมมติบัญญัตอะไร ทานก็พูดเฉพาะคราวนั้นเสร็จไปแลวพูดอีกคราวหนึ่ง ก็บอกวา มันไมมีหรอกเถรวาท ไมมีหรอกมหายาน อันนี้ทานก็ไมใสคําแยกแยะเขาไปดวย วากันตามสภาวะ เถรวาทก็ไมมี พุทธทาสก็ไมมี เหมือนกับมหายาน ก็ไมมีความจริงมันก็เป็นความจริง เป็นการตระหนักรูพรอมอยูในตัวก็อยูที่คนผูศึกษา เมื่อไปอานคําของทาน จะตองเขาใจใหถึง
เหมือนโยมไปเขากรรมฐานเจริญวิปสสนาดูสภาวะ จะอยูที่บานหรือในวัด เป็นคฤหัสถหรือเป็นพระ ไมตองนึกคิด ก็ตระหนักอยูรูทันพรอม
ถาเรามีหลักในการอาน เราก็มองออกวา ทานไมไดพูดขัดแยงกัน เดี๋ยวจะบอกวา เอะ! ทานพุทธทาสทําไมพูดขัดแยงกับตัวทานเอง มาพูดตรงนี้วา เถรวาทเป็นอยางนี้นะ ชวยทําใหเหมาะกับพระเถรวาทดวย นี่ยอมรับเถรวาท อาว แลวไปพูดอีกแหงหนึ่งบอกวา เถรวาทไมมี มหายานไมมี ก็จะกลายเป็นวาจะเลนงานทานพุทธทาสไปเลย แตถาเอามาแยกแยะอยางนี้ ก็เขาใจได ใชไหม ทานพุทธทาสเองทานก็พยายามพูด ทานวามี “ภาษาคนภาษาธรรม” แตถาไมใชคํานั้น ก็พูดไปตามถอยคําแบบเดิมทํานองวา ภาษาสมมติบัญญัติ ภาษาปรมัตถ์เลยตอไปอีก ถาจะใชคําของพระพุทธเจา ก็ตองรูวาพระพุทธเจาเองไมไดทรงใชคํานี้ แตทรงใชคําวา “โวหาร” อยางในพระสูตรหนึ่ง พระองคตรัสถึงเรื่องวา พระองคไมขัดแยงกับชาวโลกชาวโลกเขาพูดกันไป ทั้งๆ ที่วาโดยสภาวะความเป็นจริงแลว มันไมไดเป็นอยางนั้น พระองคก็ตรัสไปตามโวหารของชาวโลกนั้นนี่เป็นเรื่องของภาษาที่ชาวโลกเขาพูดกัน เพราะวามนุษยสื่อสารกันไดดวยอาศัยภาษา เมื่อใชภาษาก็ตองอาศัยสมมติ ตองวาไปตามบัญญัติ ถาเราปอกเปลือกภาษาออกไป จึงจะถึงเนื้อหาสาระแทที่เป็นสภาวะ ซึ่งไมมีภาษาที่จะสื่อ เป็นตัวความจริง แตภาษามีประโยชนไหม ก็มีสิ คือมาสื่อสาร ก็สื่อสาระนั้น ทําใหอธิบายชี้แจงกันได ชวยใหเขาใจ เป็นบันไดที่จะกาวไปรูถึงสภาวะโนน สํานวนเซนเขาบอกวา เหมือนกับนิ้วซึ่งชี้ไปที่พระจันทร นิ้วชี้ไปที่พระจันทร นิ้วไมใชพระจันทร แตช่วยใหหันไปดูและเห็นพระจันทร ภาษาก็เหมือนกับนิ้วซึ่งชี้ไปที่พระจันทร จุดมุงของเราอยูที่พระจันทร อยาเอานิ้วเป็นพระจันทร และอยาติดอยูแคนิ้ว อะไรทํานองนี้