กลุ่มลูกค้าผู้เดินทางทางอากาศบ่อยกับ FlyersRights.org และ Travelers United กำลังร่วมกันผลักดันให้หน่วยงานกลางสหรัฐอเมริกาที่เกี่ยวข้อง
ออกกฎข้อบังคับให้สายการบินยุติการจัดที่นั่งคับแคบแทบบีบอัด และเพิ่มระยะห่างระหว่างแถวด้วย (seat pitch)
"วัตถุประสงค์ของเราในตอนนี้คือเรียกร้องให้ขนาดที่นั่งเครื่องบินจากนี้ไป มีพื้นที่มากขึ้น"
ประธาน FlyersRights.org นามว่า Paul Hudson กล่าวกับ RGN ปีที่แล้ว
จากวันนั้นมา ทางกลุ่มได้ออกหนังสือคำร้องเวียน (circulated a petition) ขอให้เลิกการบีบอัดที่นั่ง ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย
บัญญติให้ระยะห่างระหว่างแถวที่นั่ง (seat pitch) ต้องเพียงพอต่อการขอลุกผ่านเข้าออกจากที่นั่งไปยังทางเดิน
ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอาการล้าและเป็นตะคริว
แม้กระนั้น Charlie Leocha ประธาน Travelers United ที่เป็นสมาชิกด้วย ก็แหนงหน่ายให้ความร่วมมือตามร้องขอเรื่องระยะห่างแถวที่นั่งขั้นต่ำ
แม้ทำให้การลี้ภัยออกจากเครื่องบินทำได้ช้าลงเพราะติดขัดแน่นขนัดกันเอง ในยามที่ผู้โดยสารเต็มลำจำต้องออกจากเครื่องบินให้ได้ภายใน 90 วินาที ตามการรับรองของ FAA ก็ตาม
ในปัจจุบัน การทดสอบหนีออกจากเครื่องบินภายใน 90 วินาที ทำกันในเครื่องบินจำลอง ไม่ใช่ทดสอบกับคนจริงๆ
แต่ Charlie Leocha ก็บอกกับสื่อ Washington Post ว่าปัจจุบันกำลังร่วมงานกับ FlyersRights.org
ในการกำหนดมาตรฐานขนาดที่นั่งขั้นต่ำ ดังที่เรียกร้องกันมา
มีหลายสายการบินที่แม้ทำการบินด้วยเครื่องบินลำตัวกว้าง แต่กลับอัดที่นั่งคับแคบแทบรันทดอยู่มิใช่น้อย
หน้าเบาะแคบกว่า 17 นิ้วยังมีเลย (43.18 เซนติเมตร) แคบยิ่งกว่าเครื่องบินลำตัวแคบอย่างโบอิ้ง 737 อย่างไม่น่าทำกันได้ลงคอ
ยิ่งไปกว่านี้ ค่าเฉลี่ยของระยะห่างระหว่างแถวที่นั่งเบาะหน้ากับเบาะเรา (seat pitch) ในชั้นโดยสารประหยัด
คือ 31 นิ้ว หรือ 78.74 เซนติเมตร บนเที่ยวบินพิสัยไกล
แม้ว่าจะยังเล็กได้อีกให้เหลือ 28 นิ้ว หรือ 71.12 เซนติเมตร กับเที่ยวบินระยะทางใกล้ถึงปานกลาง
อนาคตบางสายการบินอาจกำหนดให้เล็กเหลือ 27 นิ้ว หรือ 68.58 เซนติเมตร เสียด้วยซ้ำไป
FlyersRights.org กล่าวว่า นี่หากไม่มีกฎมาบังคับนะ ประชดได้เลยว่า “The sky’s the limit” “ท้องฟ้ามีขอบเขตจำกัด”
ในขณะเดียวกัน จำต้องยอมรับกันอย่างชินชาโดยทั่วไปบนโลกสังคมออกไลน์ว่า
ยังต้องพบเจอการบ่นๆๆ ของผู้โดยสาร เรื่องความคับแคบที่นั่ง อย่างนี้เรื่อยไป
ความเอาใจใส่ก็เป็นสิ่งจำเป็น แต่แล้วสายการบินก็จะทำเป็นเบนประเด็นออกทะเลไปโน่น
ผู้โดยสารก็จำต้องยอมจ่ายค่าที่นั่งแคบๆ ต่อไป ตราบที่ราคาค่าโดยสารเป็นปัจจัยหลักที่ผู้คนคนึงในการเลือกเที่ยวบิน
หรือจะรอให้ออกมาร้องเรียกยกใหญ่ หรือไม่ก็ยอมควักกระเป๋าตังค์จ่ายแพงขึ้นเพื่อประสบการณ์การเดินทางทางอากาศที่ดีกว่า
แล้วจะพอเป็นไปได้ไหม พอจะมีสิทธิ์อันแสนยากไหม ที่จะได้พบการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เอง
RGN สาธยายความแคบที่นั่งเครื่องบินไว้ ทั้งขนาดรูปลักษณ์และทำไมคำอ้อนวอนจึงไม่เป็นผล เชิญชมวิดีทัศน์ได้จากเว็บไซต์นี้
http://www.runwaygirlnetwork.com/2015/09/20/consumer-group-seeks-moratorium-on-seat-squeeze
ua2260-26-spoiler_up
Source : Runway Girl Network
Photo : Runway Girl Network , Wendt/picture alliance/dpa/Associated Press ; Jason Rabinowitz , John Walton , Airbus
Last Updated on Tuesday, 22 September 2015 12:51
http://www.airlinesweek.com/
กลุ่มลูกค้าเที่ยวบินติงที่นั่งคับแคบ ด้วยพะวงความปลอดภัย
ออกกฎข้อบังคับให้สายการบินยุติการจัดที่นั่งคับแคบแทบบีบอัด และเพิ่มระยะห่างระหว่างแถวด้วย (seat pitch)
"วัตถุประสงค์ของเราในตอนนี้คือเรียกร้องให้ขนาดที่นั่งเครื่องบินจากนี้ไป มีพื้นที่มากขึ้น"
ประธาน FlyersRights.org นามว่า Paul Hudson กล่าวกับ RGN ปีที่แล้ว
จากวันนั้นมา ทางกลุ่มได้ออกหนังสือคำร้องเวียน (circulated a petition) ขอให้เลิกการบีบอัดที่นั่ง ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย
บัญญติให้ระยะห่างระหว่างแถวที่นั่ง (seat pitch) ต้องเพียงพอต่อการขอลุกผ่านเข้าออกจากที่นั่งไปยังทางเดิน
ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอาการล้าและเป็นตะคริว
แม้กระนั้น Charlie Leocha ประธาน Travelers United ที่เป็นสมาชิกด้วย ก็แหนงหน่ายให้ความร่วมมือตามร้องขอเรื่องระยะห่างแถวที่นั่งขั้นต่ำ
แม้ทำให้การลี้ภัยออกจากเครื่องบินทำได้ช้าลงเพราะติดขัดแน่นขนัดกันเอง ในยามที่ผู้โดยสารเต็มลำจำต้องออกจากเครื่องบินให้ได้ภายใน 90 วินาที ตามการรับรองของ FAA ก็ตาม
ในปัจจุบัน การทดสอบหนีออกจากเครื่องบินภายใน 90 วินาที ทำกันในเครื่องบินจำลอง ไม่ใช่ทดสอบกับคนจริงๆ
แต่ Charlie Leocha ก็บอกกับสื่อ Washington Post ว่าปัจจุบันกำลังร่วมงานกับ FlyersRights.org
ในการกำหนดมาตรฐานขนาดที่นั่งขั้นต่ำ ดังที่เรียกร้องกันมา
มีหลายสายการบินที่แม้ทำการบินด้วยเครื่องบินลำตัวกว้าง แต่กลับอัดที่นั่งคับแคบแทบรันทดอยู่มิใช่น้อย
หน้าเบาะแคบกว่า 17 นิ้วยังมีเลย (43.18 เซนติเมตร) แคบยิ่งกว่าเครื่องบินลำตัวแคบอย่างโบอิ้ง 737 อย่างไม่น่าทำกันได้ลงคอ
ยิ่งไปกว่านี้ ค่าเฉลี่ยของระยะห่างระหว่างแถวที่นั่งเบาะหน้ากับเบาะเรา (seat pitch) ในชั้นโดยสารประหยัด
คือ 31 นิ้ว หรือ 78.74 เซนติเมตร บนเที่ยวบินพิสัยไกล
แม้ว่าจะยังเล็กได้อีกให้เหลือ 28 นิ้ว หรือ 71.12 เซนติเมตร กับเที่ยวบินระยะทางใกล้ถึงปานกลาง
อนาคตบางสายการบินอาจกำหนดให้เล็กเหลือ 27 นิ้ว หรือ 68.58 เซนติเมตร เสียด้วยซ้ำไป
FlyersRights.org กล่าวว่า นี่หากไม่มีกฎมาบังคับนะ ประชดได้เลยว่า “The sky’s the limit” “ท้องฟ้ามีขอบเขตจำกัด”
ในขณะเดียวกัน จำต้องยอมรับกันอย่างชินชาโดยทั่วไปบนโลกสังคมออกไลน์ว่า
ยังต้องพบเจอการบ่นๆๆ ของผู้โดยสาร เรื่องความคับแคบที่นั่ง อย่างนี้เรื่อยไป
ความเอาใจใส่ก็เป็นสิ่งจำเป็น แต่แล้วสายการบินก็จะทำเป็นเบนประเด็นออกทะเลไปโน่น
ผู้โดยสารก็จำต้องยอมจ่ายค่าที่นั่งแคบๆ ต่อไป ตราบที่ราคาค่าโดยสารเป็นปัจจัยหลักที่ผู้คนคนึงในการเลือกเที่ยวบิน
หรือจะรอให้ออกมาร้องเรียกยกใหญ่ หรือไม่ก็ยอมควักกระเป๋าตังค์จ่ายแพงขึ้นเพื่อประสบการณ์การเดินทางทางอากาศที่ดีกว่า
แล้วจะพอเป็นไปได้ไหม พอจะมีสิทธิ์อันแสนยากไหม ที่จะได้พบการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เอง
RGN สาธยายความแคบที่นั่งเครื่องบินไว้ ทั้งขนาดรูปลักษณ์และทำไมคำอ้อนวอนจึงไม่เป็นผล เชิญชมวิดีทัศน์ได้จากเว็บไซต์นี้
http://www.runwaygirlnetwork.com/2015/09/20/consumer-group-seeks-moratorium-on-seat-squeeze
Source : Runway Girl Network
Photo : Runway Girl Network , Wendt/picture alliance/dpa/Associated Press ; Jason Rabinowitz , John Walton , Airbus
Last Updated on Tuesday, 22 September 2015 12:51
http://www.airlinesweek.com/