สืบเนื่องจากคำถามในกระทู้
http://ppantip.com/topic/34094662
มีคำแนะนำว่าให้ทำการแก้อุทธรณ์ในกรณีที่ จำเลยที่แพ้คำพิพากษาชั้นต้น ขอยื่นอุทธรณ์ มีคำถามดังนี้ครับ
1. เราสามารถแก้คำอุธรณ์โดย อ้างอิงเอกสารงบการเงินที่กรมพัฒฯรับรอง ว่า จำเลยที่ 1 (บริษัท) มีกำไรในการดำเนินการ ณ.วันที่ 31-ธค และ จดหมายตอบรับการยกเลิกสัญญาการจองโดยจำเลยที่ 2 (กรรมการ) ลงนามเมื่อวันที่ 15-มค. เป็นการแสดงให้เห็นว่าจำเลยอยู่ในฐานะที่สามารถชำระเงินดาวน์ และ เงินจองโครงการ คืนให้เราได้ แต่ทำการประวิงเวลา หรือ มีเจตนาในการไม่ชำระคืน กรณีนี้เราสามารถยื่นเอกสารงบการเงินในการแก้อุทธรณ์เพื่ออ้างอิงได้หรือไม่ครับ
2. จากข้อ 1. เนื่องจาก จำเลยที่ 2 (กรรมการ) เป็นผู้มีอำนาจลงนามแต่เพียงผู้เดีวยในบริษัท ซึ่งทำการลงนามรับรองในงบการเงินวันที่ 31-ธค รวมถึงลงนามในจดหมายตอบรับการยกเลิกสัญญาในวันที่ 15-มค ดังนั้น จะแสดงว่าจำเลยที่ 2 (กรรมการ) มีส่วนร่วมและมีเจตนาในการไม่ชำระเงินดาวน์และมัจจำคืน ได้หรือไม่
3. ถ้าจำเลยขอทุเลาการบังคับดคี เราสามารถอ้างข้อ 1 และ 2 ว่า จำเลยอยู่ในฐานะที่สามารถชำระเงินคืนได้ แต่เจตนาไม่ทำ หรือ ประวิงเวลา จำขอให้ศาลอุทธรณ์
3.1. ไม่อนุญาติให้ทุเลาการบังคับคดี
3.2. เรียกเงิน หรือ ทรัพย์สินเพื่อค้ำประกันเท่ามุลฟ้อง และ รวมดอกเบี้ยได้หรือไม่
ความคิดผมเอง ข้อ 1 มัดจำเลยที่ 1 (บริษัท) ข้อ 2 มัดจำเลยที่ 2 (กรรมการ) ข้อ 3 เกี่ยวกับการบังคับดคีเนื่องจากเราไม่มีอะไรประกันในเงินดาวน์เลย
ขอบคุณครับ
ป.ล. ผมไม่ไช่ทนาย แต่พยายามศึกษาเอง คำถามนี้อาจจะเป็นข้อเสนอให้ทนาย (ถ้าจำเป็นต้องต้งทนาย) หรือ ถ้าเขียนเองได้อาจจะเขียนเอง (แต่คงให้ทนาย review ด้วย)
สอบถามเกี่ยวกับ การแก้อุทธรณ์ คดีผู้บริโภค
มีคำแนะนำว่าให้ทำการแก้อุทธรณ์ในกรณีที่ จำเลยที่แพ้คำพิพากษาชั้นต้น ขอยื่นอุทธรณ์ มีคำถามดังนี้ครับ
1. เราสามารถแก้คำอุธรณ์โดย อ้างอิงเอกสารงบการเงินที่กรมพัฒฯรับรอง ว่า จำเลยที่ 1 (บริษัท) มีกำไรในการดำเนินการ ณ.วันที่ 31-ธค และ จดหมายตอบรับการยกเลิกสัญญาการจองโดยจำเลยที่ 2 (กรรมการ) ลงนามเมื่อวันที่ 15-มค. เป็นการแสดงให้เห็นว่าจำเลยอยู่ในฐานะที่สามารถชำระเงินดาวน์ และ เงินจองโครงการ คืนให้เราได้ แต่ทำการประวิงเวลา หรือ มีเจตนาในการไม่ชำระคืน กรณีนี้เราสามารถยื่นเอกสารงบการเงินในการแก้อุทธรณ์เพื่ออ้างอิงได้หรือไม่ครับ
2. จากข้อ 1. เนื่องจาก จำเลยที่ 2 (กรรมการ) เป็นผู้มีอำนาจลงนามแต่เพียงผู้เดีวยในบริษัท ซึ่งทำการลงนามรับรองในงบการเงินวันที่ 31-ธค รวมถึงลงนามในจดหมายตอบรับการยกเลิกสัญญาในวันที่ 15-มค ดังนั้น จะแสดงว่าจำเลยที่ 2 (กรรมการ) มีส่วนร่วมและมีเจตนาในการไม่ชำระเงินดาวน์และมัจจำคืน ได้หรือไม่
3. ถ้าจำเลยขอทุเลาการบังคับดคี เราสามารถอ้างข้อ 1 และ 2 ว่า จำเลยอยู่ในฐานะที่สามารถชำระเงินคืนได้ แต่เจตนาไม่ทำ หรือ ประวิงเวลา จำขอให้ศาลอุทธรณ์
3.1. ไม่อนุญาติให้ทุเลาการบังคับคดี
3.2. เรียกเงิน หรือ ทรัพย์สินเพื่อค้ำประกันเท่ามุลฟ้อง และ รวมดอกเบี้ยได้หรือไม่
ความคิดผมเอง ข้อ 1 มัดจำเลยที่ 1 (บริษัท) ข้อ 2 มัดจำเลยที่ 2 (กรรมการ) ข้อ 3 เกี่ยวกับการบังคับดคีเนื่องจากเราไม่มีอะไรประกันในเงินดาวน์เลย
ขอบคุณครับ
ป.ล. ผมไม่ไช่ทนาย แต่พยายามศึกษาเอง คำถามนี้อาจจะเป็นข้อเสนอให้ทนาย (ถ้าจำเป็นต้องต้งทนาย) หรือ ถ้าเขียนเองได้อาจจะเขียนเอง (แต่คงให้ทนาย review ด้วย)