กฏในการสนทนา
1. ถ้าผู้อ่านมีใจเป็นกลางทางการเมือง ก็มาสนทนา แลกเปลียนความรู้กันนะครับ
2. พูดคุยในกรอบของ ปัญหา ไม่นอกประเด็น
3.พูดเรื่อง จำนำข้าว และ กำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำที่สูงกว่าตลาด
4.อย่าฟังตามๆกันมา ว่าเขาบอกว่างู้นงี้ แต่ คิดได้ อย่างมีเหตุและผล
ผมขอ อธิบาย ง่ายๆ แบบ บ้านๆ นะครับ
เราจะต้องเข้าใจถึง กลไกล ตลาด กลไกลราคา และ กลไกลรัฐบาลก่อน
เราจะต้อง เข้าใจ การผูกขาดสินค้าก่อน (กลไกลราคาจะไม่สามารถทำหน้าที่ได้ถ้าหากผูกขาดสิ้นค้า)
สำนักอดัม สมิธ บอกว่า รัฐบาลไม่จำเป็นต้องเข้ามาแทรกแทรงในระบบเศรษฐกิจเลย ปล่อยให้กลไกลตลาดทำหน้าที่ของมันเองจะเข้าสู่ดุลภาพ
สำนักเบอ นาธ เคน บอกว่า รัฐบาลควรมาแทรงแทรงในระบบเศรษฐกิจ เมื่อ กลไกลราคา ทำงานไม่ได้
เริ่มเลยนะครับ
(ตัวอย่าง การกำหมดราคาให้ต่ำกว่าความเป็นจริง)
ในระหว่างที่ประเทศเกิดสงคราม
ของจะแพงมาก (เงินเฟ้อรุนแรง) เพื่อแก้สถานการณ์ รัฐบาลจะลงมา ทำการ ควบคุม ราคาสินค้าในถูกและอัตราค่าจ้างในถูกลง เพื่อให้ประชาชนในประเทศไม่เดือดในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไป ราคาขายที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ปริมาณความต้องการซื้อของผู้บริโภคภายในประเทศกลับเพิ่มขึ้น
(สินค้าราคาถูกความต้องการบริโภคมาก สินค้าแพงคนต้องการบริโภคน้อย) แย่งกันกินแย้งกันใช้ ทำให้ สิ้นค้าที่มีในประเทศกลับลดลง การลงทุนหยุดชงัก เพราะผู้คนกักตุนสินค้า เมื่อไร้ซึ่งการลงทุนผลิตสิ้นค้าใหม่ออกมา สินค้าเลยเหลือน้อย ทำให้ เศรฐกิจพัง
แต่การ กระทำเช่นนี้มีข้อดีคือ ควบคุมเงินเฟ้อรุนแรงด้วยกัน กำหมดราคาสินค้าและ ค่าจ้าง ร่วมกับการ แก้ปัญหาเงินเฟ้อที่ต้นเหตุ คือชนะสงครามเร็วๆหรือหยุดติต้นตอของปัญหาเร็วๆ
(การกำหนดราคาให้สูงกว่าความเป็นจริง)
มอง ในทางกลับกันนะครับ การกำหนดราคาข้าว 15,000 บาทและอัตราค่าจ้าง 300 บาท ทั่วประเทศ ซึ่ง เป็นการกำหนดราคา ที่สูงกว่าราคาตลาด
ทำให้ชาวนา ไม่ไปขายข้าวราคาตลาดแต่ขายในราคา รัฐบาล เพราะให้ราคาที่สูงกว่าราคาตลาดนั้นเอง
จากที่เราทราบว่า ....... ราคาขายสูงปริมาณความต้องการของผู้บริโภคต่ำ
....... ราคาขายต่ำปริมาณความต้องการของผู้บริโภคสูง
ดังนั้นราคาที่สูงกว่าตลาด เป็นแรงจูงใจ ให้ผู้ผลิต ผลิตสิ้นค้าออกมาเกินความต้องการ ของผู้บริโภค นั้นคือ สิ้นค้าล้นตลาด เป็นเหตุให้ ราคารับซื้อขายในตลาดลดลงอย่างมาก เมื่อรัฐบาล หยุดนโยบายการจำนำข้าวบัดนั้น ทำให้ ราคาข้าวกลับ ลดลงอย่างมาก นั้นเอง
(แสดงราคาตลาดออกมา)
สิ้นค้าข้าว เป็นผลผลิตทางการเกษตร เน่าเสียได้ เมื่อ มีความต้องการบริโภคน้อยกว่าปริมาณสิ้นค้าที่มีอยู่ รัฐบาลชุดต่อมา จึงเริ่มขายข้าวให้หมด ก่อนสิ้นค้าจะเน่าเสีย นั้นคือ ยอมขายในราคาที่ขาดทุน (ซื้อมาตันละ15000 บาท ขาย ราคาน้อยกว่า15000 บาท จึงขาดทุน)
ทั้งนี้ทั้งนั้นสามารถอธิบายทางคณิตศาสตร์ได้ แต่ไม่ขอกล่าวถึง
การกำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำซึ่งสูงกว่าความเป็นจริง แบบคงที่คือ300 ในบาง พื้นที่ของ ประเทศไทย ก็ ทำให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน
คือ อัตราค่าจ้างสูงกว่าความเป็นจริง(ราคาสูง)นายจ้างจะจ้างน้อยลง(ปริมาณลดลง) ปัญหาที่ตามมา คือ การว่างงานเพิ่มขึ้นหรือไม่ก็อัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นตาม อันเนื่องมาจาก ภาคธุรกิจมีผลผลิตเท่าเดิม แต่อัตราค่าจ้างลูกจ้างสูงขึ้น ทำให้ ต้องปลดพนักงาน หรือ เพอ่มราคาสิ้นค้า มีผลให้ราคาสิ้นค้าทั้งระบบปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย
สรุป คือ กลไกลรัฐบาล สามารถแทรกแซงได้ แต่ไม่สมควรจะใช้กลไกลราคา100 เปอเซ็นเลย เพราะทำให้ให้เศรษกิจเกิดความบิดเบื่อนจากความเป็นจริง
และสร้างผลกระทบต่อภาพรวมของเศรษฐกิจ
ส่วนแนวทางแก้ไข ในความคิดของผมจะมาเล่าอีกที่นะครับ
ปล. เถียงกับพ่อมาตั้งแต่ ตอนที่หาเสียงรัฐบาลชุดที่ผ่านมาละ พ่อฝ่ายแดง ผมกลางโคตรๆ
ความอยู่ดีกินดีของประชาชนอาจจะมีได้หลายความหมาย แต่ความหมายของผมคือ การทำให้ประเทศมีประชาชนที่อยู่ดีกินดีไม่ได้หมายถึง รวยล้นฟ้ากันทั่วหน้า แต่หมายถึง การที่ทุกคนมีเงินใช่เพื่อ ปัจจัย4 รวมถึงมีเงินเก็บเพื่อวางแผนอนาคตได้
ปล. นอกเรื่อง ส่วนตัวผมขาดว่าราคาข้าว ในปีหน้าหรือกลางปีหน้า ราคาจะดีขึ้น
ความล้มเหลวของ นโยบายรัฐบาลที่ผ่านมา
1. ถ้าผู้อ่านมีใจเป็นกลางทางการเมือง ก็มาสนทนา แลกเปลียนความรู้กันนะครับ
2. พูดคุยในกรอบของ ปัญหา ไม่นอกประเด็น
3.พูดเรื่อง จำนำข้าว และ กำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำที่สูงกว่าตลาด
4.อย่าฟังตามๆกันมา ว่าเขาบอกว่างู้นงี้ แต่ คิดได้ อย่างมีเหตุและผล
ผมขอ อธิบาย ง่ายๆ แบบ บ้านๆ นะครับ
เราจะต้องเข้าใจถึง กลไกล ตลาด กลไกลราคา และ กลไกลรัฐบาลก่อน
เราจะต้อง เข้าใจ การผูกขาดสินค้าก่อน (กลไกลราคาจะไม่สามารถทำหน้าที่ได้ถ้าหากผูกขาดสิ้นค้า)
สำนักอดัม สมิธ บอกว่า รัฐบาลไม่จำเป็นต้องเข้ามาแทรกแทรงในระบบเศรษฐกิจเลย ปล่อยให้กลไกลตลาดทำหน้าที่ของมันเองจะเข้าสู่ดุลภาพ
สำนักเบอ นาธ เคน บอกว่า รัฐบาลควรมาแทรงแทรงในระบบเศรษฐกิจ เมื่อ กลไกลราคา ทำงานไม่ได้
เริ่มเลยนะครับ
(ตัวอย่าง การกำหมดราคาให้ต่ำกว่าความเป็นจริง)
ในระหว่างที่ประเทศเกิดสงคราม
ของจะแพงมาก (เงินเฟ้อรุนแรง) เพื่อแก้สถานการณ์ รัฐบาลจะลงมา ทำการ ควบคุม ราคาสินค้าในถูกและอัตราค่าจ้างในถูกลง เพื่อให้ประชาชนในประเทศไม่เดือดในระยะแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไป ราคาขายที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ปริมาณความต้องการซื้อของผู้บริโภคภายในประเทศกลับเพิ่มขึ้น
(สินค้าราคาถูกความต้องการบริโภคมาก สินค้าแพงคนต้องการบริโภคน้อย) แย่งกันกินแย้งกันใช้ ทำให้ สิ้นค้าที่มีในประเทศกลับลดลง การลงทุนหยุดชงัก เพราะผู้คนกักตุนสินค้า เมื่อไร้ซึ่งการลงทุนผลิตสิ้นค้าใหม่ออกมา สินค้าเลยเหลือน้อย ทำให้ เศรฐกิจพัง
แต่การ กระทำเช่นนี้มีข้อดีคือ ควบคุมเงินเฟ้อรุนแรงด้วยกัน กำหมดราคาสินค้าและ ค่าจ้าง ร่วมกับการ แก้ปัญหาเงินเฟ้อที่ต้นเหตุ คือชนะสงครามเร็วๆหรือหยุดติต้นตอของปัญหาเร็วๆ
(การกำหนดราคาให้สูงกว่าความเป็นจริง)
มอง ในทางกลับกันนะครับ การกำหนดราคาข้าว 15,000 บาทและอัตราค่าจ้าง 300 บาท ทั่วประเทศ ซึ่ง เป็นการกำหนดราคา ที่สูงกว่าราคาตลาด
ทำให้ชาวนา ไม่ไปขายข้าวราคาตลาดแต่ขายในราคา รัฐบาล เพราะให้ราคาที่สูงกว่าราคาตลาดนั้นเอง
จากที่เราทราบว่า ....... ราคาขายสูงปริมาณความต้องการของผู้บริโภคต่ำ
....... ราคาขายต่ำปริมาณความต้องการของผู้บริโภคสูง
ดังนั้นราคาที่สูงกว่าตลาด เป็นแรงจูงใจ ให้ผู้ผลิต ผลิตสิ้นค้าออกมาเกินความต้องการ ของผู้บริโภค นั้นคือ สิ้นค้าล้นตลาด เป็นเหตุให้ ราคารับซื้อขายในตลาดลดลงอย่างมาก เมื่อรัฐบาล หยุดนโยบายการจำนำข้าวบัดนั้น ทำให้ ราคาข้าวกลับ ลดลงอย่างมาก นั้นเอง
(แสดงราคาตลาดออกมา)
สิ้นค้าข้าว เป็นผลผลิตทางการเกษตร เน่าเสียได้ เมื่อ มีความต้องการบริโภคน้อยกว่าปริมาณสิ้นค้าที่มีอยู่ รัฐบาลชุดต่อมา จึงเริ่มขายข้าวให้หมด ก่อนสิ้นค้าจะเน่าเสีย นั้นคือ ยอมขายในราคาที่ขาดทุน (ซื้อมาตันละ15000 บาท ขาย ราคาน้อยกว่า15000 บาท จึงขาดทุน)
ทั้งนี้ทั้งนั้นสามารถอธิบายทางคณิตศาสตร์ได้ แต่ไม่ขอกล่าวถึง
การกำหนดราคาค่าจ้างขั้นต่ำซึ่งสูงกว่าความเป็นจริง แบบคงที่คือ300 ในบาง พื้นที่ของ ประเทศไทย ก็ ทำให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน
คือ อัตราค่าจ้างสูงกว่าความเป็นจริง(ราคาสูง)นายจ้างจะจ้างน้อยลง(ปริมาณลดลง) ปัญหาที่ตามมา คือ การว่างงานเพิ่มขึ้นหรือไม่ก็อัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นตาม อันเนื่องมาจาก ภาคธุรกิจมีผลผลิตเท่าเดิม แต่อัตราค่าจ้างลูกจ้างสูงขึ้น ทำให้ ต้องปลดพนักงาน หรือ เพอ่มราคาสิ้นค้า มีผลให้ราคาสิ้นค้าทั้งระบบปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย
สรุป คือ กลไกลรัฐบาล สามารถแทรกแซงได้ แต่ไม่สมควรจะใช้กลไกลราคา100 เปอเซ็นเลย เพราะทำให้ให้เศรษกิจเกิดความบิดเบื่อนจากความเป็นจริง
และสร้างผลกระทบต่อภาพรวมของเศรษฐกิจ
ส่วนแนวทางแก้ไข ในความคิดของผมจะมาเล่าอีกที่นะครับ
ปล. เถียงกับพ่อมาตั้งแต่ ตอนที่หาเสียงรัฐบาลชุดที่ผ่านมาละ พ่อฝ่ายแดง ผมกลางโคตรๆ
ปล. นอกเรื่อง ส่วนตัวผมขาดว่าราคาข้าว ในปีหน้าหรือกลางปีหน้า ราคาจะดีขึ้น