ไตหย่า หรือ ไทหย่า
ไทหย่า คือกลุ่มชนชาวไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นอาศัยเดิมในตำบลโมซาเจียง อำเภอซินผิง จังหวัดยิ่วซี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวจีนเรียกคนไทกลุ่มนี้ว่าฮวาเย่าไต แปลว่าไทเอวลาย ชาวไตหย่าบางส่วนได้อพยพมายังสิบสองปันนา บางส่วนเข้าสู่พม่าและไทย [1]มีประชากร 60,000 คน พูดภาษาไต (ไตตะวันตกเฉียงใต้) ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได
ชาวไทยหย่าตั้งบนเรือนอยู่รวมกันเป็น หมู่ ๆ ในอาณาเขตของจีน ไม่มีพื้นที่นาเป็นของตนเอง ต้องอาศัยรับจ้างทำนาหรือเช่านาจากพวกชาวจีนฮ่อ (ยูนนาน) มักถูกรบกวนจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเก็บภาษีอากรสูง เกณฑ์ผู้คนไปทำถนนหนทาง เอาไปเป็นคนใช้ ทหาร ฯลฯ เมื่อถูกรบกวนหนักเข้าชาวไทยหย่าบางเหล่าจึงอพยพลงมาใต้มาอาศัยอู่บริเวณ ใกล้เคียงเมืองเชียงรุ่ง ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ที่ดินว่างเปล่าอยู่บ้าง และได้อพยพเข้ามาอยู่ในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ใน พ.ศ. 2490 พบว่ามีจำนวนชาวไทยใหญ่ในจังหวัดเชียงรายมีประมาณ 1,000 คน
ขนบธรรมเนียมการแต่งกาย ของผู้หญิงชาวไทยหย่าต่างกันกับชาวไตลื้อ ชาวไตเชียงรุ่ง และชาวไทหย่าซึ่งอยู่ใต้ลงไป ชาวไทยหย่าสวมเสื้อดำ แขนยามแบบรูปกระบอก ๒ ชั้น ผ้าซิ่น ๒ ชั้น มีลูกไม้ลวดลายต่าง ๆ ติดตรงปลายผ้าข้างล่าง เสื้อในสีดำแลบออกมาให้เห็นเกือบทั้งตัว คอสูงชิดรอบคอ เสื้อสั้นเหนือเอว ผ่าอกข้างขวาระดับเดียวกันกับยอดนม ตรงริมชายเสื้อและตรงข้างหน้าอก ใช้ผ้าสีน้ำเงินแดงขาวเย็บติดสลับกัน บางคนปักเป็นลวดลายด้วยกระดุมเปลือกหอย ตัวเสื้อนี้สั้นครึ่งหน้าอกครึ่งหลัง ใต้ลงไปปล่อยให้มองเห็นเสื้อชั้นใน ผ่าข้างลงมาจากบ่าข้างริมคอทั้ง ๒ ข้าง ติดแถบผ้าสีต่าง ๆ ปักลวดลายงดงาม
ชาวไทหย่าเป็นคนไท ไม่ใช่ชาวจีนฮ่อ สังเกตได้จากรูปร่างลักษณะท่าทางตลอดจนอุปนิสัยจิตใจและภาษาคล้ายกับคนไทใน ภาคเหนือ ไทเขิน ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทเชียงรุ่ง ในเขตรัฐฉานของพม่าและตอนใต้มณฑล ยูนนานของจีน มีใบหน้ารูปไข่ ผิวค่อนข้างขาว เพราะอยู่ในโซนปานกลาง รูปร่างลักษณะได้ขนาดเดียวกัน หางคิ้วไม่ยกขึ้นอย่างชาวจีน ความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมและภาษาผิดกับชาวจีนฮ่อหลายอย่าง ภาษาบางคำตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันในภาคกลางของประเทศไทย ที่แปร่งไปบ้าง เช่น คำว่า เสื้อเป็นเซ้อ หัวเป็นโห อยู่ดีหรือไม่อยู่ดี เป็นอู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำที่ปนกับคำจีน เช่น คำว่า “ อู๋หลาย ” หรือมีหลายนั้น คำว่า “ อู๋ ” ในภาษาจีนแปลว่า “ มี ” ส่วนคำว่า “ หลาย ” เป็นคำไทย บางคำคล้ายภาษาไทใหญ่ที่ใช้กัน เช่น คำว่า “ ไป" ” ขาวไทหย่าว่า “ ก๋า ” ชาวไทใหญ่ว่า “ กว่า ” ไปเที่ยวว่า “ ก๋าห่อน ” กล้วยว่าเกี้ยว อ้อยว่าแอ้ว ฟันไม้ว่ากีดไม้ แต่ก็มีบางคำไม่ทราบว่ามาจากชาติไหน เช่น คำว่ากางเกงเป็นเดี๋ยว มากี่คนเป็นมาจิก้อ ฯลฯ ชาวไทหย่าเหล่านี้ฟังภาษาไทยกลาง (กรุงเทพฯ) ออก เครื่องดนตรีมีแคน ปี่แน กับซึง ชอบร้องเพลง
ไทหย่า คือกลุ่มชนชาวไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นอาศัยเดิมในตำบลโมซาเจียง อำเภอซินผิง จังหวัดยิ่วซี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวจีนเรียกคนไทกลุ่มนี้ว่าฮวาเย่าไต แปลว่าไทเอวลาย ชาวไตหย่าบางส่วนได้อพยพมายังสิบสองปันนา บางส่วนเข้าสู่พม่าและไทย [1]มีประชากร 60,000 คน พูดภาษาไต (ไตตะวันตกเฉียงใต้) ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได
ชาวไทยหย่าตั้งบนเรือนอยู่รวมกันเป็น หมู่ ๆ ในอาณาเขตของจีน ไม่มีพื้นที่นาเป็นของตนเอง ต้องอาศัยรับจ้างทำนาหรือเช่านาจากพวกชาวจีนฮ่อ (ยูนนาน) มักถูกรบกวนจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเก็บภาษีอากรสูง เกณฑ์ผู้คนไปทำถนนหนทาง เอาไปเป็นคนใช้ ทหาร ฯลฯ เมื่อถูกรบกวนหนักเข้าชาวไทยหย่าบางเหล่าจึงอพยพลงมาใต้มาอาศัยอู่บริเวณ ใกล้เคียงเมืองเชียงรุ่ง ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ที่ดินว่างเปล่าอยู่บ้าง และได้อพยพเข้ามาอยู่ในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ใน พ.ศ. 2490 พบว่ามีจำนวนชาวไทยใหญ่ในจังหวัดเชียงรายมีประมาณ 1,000 คน
ขนบธรรมเนียมการแต่งกาย ของผู้หญิงชาวไทยหย่าต่างกันกับชาวไตลื้อ ชาวไตเชียงรุ่ง และชาวไทหย่าซึ่งอยู่ใต้ลงไป ชาวไทยหย่าสวมเสื้อดำ แขนยามแบบรูปกระบอก ๒ ชั้น ผ้าซิ่น ๒ ชั้น มีลูกไม้ลวดลายต่าง ๆ ติดตรงปลายผ้าข้างล่าง เสื้อในสีดำแลบออกมาให้เห็นเกือบทั้งตัว คอสูงชิดรอบคอ เสื้อสั้นเหนือเอว ผ่าอกข้างขวาระดับเดียวกันกับยอดนม ตรงริมชายเสื้อและตรงข้างหน้าอก ใช้ผ้าสีน้ำเงินแดงขาวเย็บติดสลับกัน บางคนปักเป็นลวดลายด้วยกระดุมเปลือกหอย ตัวเสื้อนี้สั้นครึ่งหน้าอกครึ่งหลัง ใต้ลงไปปล่อยให้มองเห็นเสื้อชั้นใน ผ่าข้างลงมาจากบ่าข้างริมคอทั้ง ๒ ข้าง ติดแถบผ้าสีต่าง ๆ ปักลวดลายงดงาม
ชาวไทหย่าเป็นคนไท ไม่ใช่ชาวจีนฮ่อ สังเกตได้จากรูปร่างลักษณะท่าทางตลอดจนอุปนิสัยจิตใจและภาษาคล้ายกับคนไทใน ภาคเหนือ ไทเขิน ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทเชียงรุ่ง ในเขตรัฐฉานของพม่าและตอนใต้มณฑล ยูนนานของจีน มีใบหน้ารูปไข่ ผิวค่อนข้างขาว เพราะอยู่ในโซนปานกลาง รูปร่างลักษณะได้ขนาดเดียวกัน หางคิ้วไม่ยกขึ้นอย่างชาวจีน ความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมและภาษาผิดกับชาวจีนฮ่อหลายอย่าง ภาษาบางคำตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันในภาคกลางของประเทศไทย ที่แปร่งไปบ้าง เช่น คำว่า เสื้อเป็นเซ้อ หัวเป็นโห อยู่ดีหรือไม่อยู่ดี เป็นอู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำที่ปนกับคำจีน เช่น คำว่า “ อู๋หลาย ” หรือมีหลายนั้น คำว่า “ อู๋ ” ในภาษาจีนแปลว่า “ มี ” ส่วนคำว่า “ หลาย ” เป็นคำไทย บางคำคล้ายภาษาไทใหญ่ที่ใช้กัน เช่น คำว่า “ ไป" ” ขาวไทหย่าว่า “ ก๋า ” ชาวไทใหญ่ว่า “ กว่า ” ไปเที่ยวว่า “ ก๋าห่อน ” กล้วยว่าเกี้ยว อ้อยว่าแอ้ว ฟันไม้ว่ากีดไม้ แต่ก็มีบางคำไม่ทราบว่ามาจากชาติไหน เช่น คำว่ากางเกงเป็นเดี๋ยว มากี่คนเป็นมาจิก้อ ฯลฯ ชาวไทหย่าเหล่านี้ฟังภาษาไทยกลาง (กรุงเทพฯ) ออก เครื่องดนตรีมีแคน ปี่แน กับซึง ชอบร้องเพลง
ไตหย่า หรือ ไทหย่า กลุ่มพันธุ์ไท-กะได ที่น้อยคนนักจะรู้จัก
ไทหย่า คือกลุ่มชนชาวไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นอาศัยเดิมในตำบลโมซาเจียง อำเภอซินผิง จังหวัดยิ่วซี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวจีนเรียกคนไทกลุ่มนี้ว่าฮวาเย่าไต แปลว่าไทเอวลาย ชาวไตหย่าบางส่วนได้อพยพมายังสิบสองปันนา บางส่วนเข้าสู่พม่าและไทย [1]มีประชากร 60,000 คน พูดภาษาไต (ไตตะวันตกเฉียงใต้) ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได
ชาวไทยหย่าตั้งบนเรือนอยู่รวมกันเป็น หมู่ ๆ ในอาณาเขตของจีน ไม่มีพื้นที่นาเป็นของตนเอง ต้องอาศัยรับจ้างทำนาหรือเช่านาจากพวกชาวจีนฮ่อ (ยูนนาน) มักถูกรบกวนจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเก็บภาษีอากรสูง เกณฑ์ผู้คนไปทำถนนหนทาง เอาไปเป็นคนใช้ ทหาร ฯลฯ เมื่อถูกรบกวนหนักเข้าชาวไทยหย่าบางเหล่าจึงอพยพลงมาใต้มาอาศัยอู่บริเวณ ใกล้เคียงเมืองเชียงรุ่ง ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ที่ดินว่างเปล่าอยู่บ้าง และได้อพยพเข้ามาอยู่ในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ใน พ.ศ. 2490 พบว่ามีจำนวนชาวไทยใหญ่ในจังหวัดเชียงรายมีประมาณ 1,000 คน
ขนบธรรมเนียมการแต่งกาย ของผู้หญิงชาวไทยหย่าต่างกันกับชาวไตลื้อ ชาวไตเชียงรุ่ง และชาวไทหย่าซึ่งอยู่ใต้ลงไป ชาวไทยหย่าสวมเสื้อดำ แขนยามแบบรูปกระบอก ๒ ชั้น ผ้าซิ่น ๒ ชั้น มีลูกไม้ลวดลายต่าง ๆ ติดตรงปลายผ้าข้างล่าง เสื้อในสีดำแลบออกมาให้เห็นเกือบทั้งตัว คอสูงชิดรอบคอ เสื้อสั้นเหนือเอว ผ่าอกข้างขวาระดับเดียวกันกับยอดนม ตรงริมชายเสื้อและตรงข้างหน้าอก ใช้ผ้าสีน้ำเงินแดงขาวเย็บติดสลับกัน บางคนปักเป็นลวดลายด้วยกระดุมเปลือกหอย ตัวเสื้อนี้สั้นครึ่งหน้าอกครึ่งหลัง ใต้ลงไปปล่อยให้มองเห็นเสื้อชั้นใน ผ่าข้างลงมาจากบ่าข้างริมคอทั้ง ๒ ข้าง ติดแถบผ้าสีต่าง ๆ ปักลวดลายงดงาม
ชาวไทหย่าเป็นคนไท ไม่ใช่ชาวจีนฮ่อ สังเกตได้จากรูปร่างลักษณะท่าทางตลอดจนอุปนิสัยจิตใจและภาษาคล้ายกับคนไทใน ภาคเหนือ ไทเขิน ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทเชียงรุ่ง ในเขตรัฐฉานของพม่าและตอนใต้มณฑล ยูนนานของจีน มีใบหน้ารูปไข่ ผิวค่อนข้างขาว เพราะอยู่ในโซนปานกลาง รูปร่างลักษณะได้ขนาดเดียวกัน หางคิ้วไม่ยกขึ้นอย่างชาวจีน ความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมและภาษาผิดกับชาวจีนฮ่อหลายอย่าง ภาษาบางคำตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันในภาคกลางของประเทศไทย ที่แปร่งไปบ้าง เช่น คำว่า เสื้อเป็นเซ้อ หัวเป็นโห อยู่ดีหรือไม่อยู่ดี เป็นอู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำที่ปนกับคำจีน เช่น คำว่า “ อู๋หลาย ” หรือมีหลายนั้น คำว่า “ อู๋ ” ในภาษาจีนแปลว่า “ มี ” ส่วนคำว่า “ หลาย ” เป็นคำไทย บางคำคล้ายภาษาไทใหญ่ที่ใช้กัน เช่น คำว่า “ ไป" ” ขาวไทหย่าว่า “ ก๋า ” ชาวไทใหญ่ว่า “ กว่า ” ไปเที่ยวว่า “ ก๋าห่อน ” กล้วยว่าเกี้ยว อ้อยว่าแอ้ว ฟันไม้ว่ากีดไม้ แต่ก็มีบางคำไม่ทราบว่ามาจากชาติไหน เช่น คำว่ากางเกงเป็นเดี๋ยว มากี่คนเป็นมาจิก้อ ฯลฯ ชาวไทหย่าเหล่านี้ฟังภาษาไทยกลาง (กรุงเทพฯ) ออก เครื่องดนตรีมีแคน ปี่แน กับซึง ชอบร้องเพลง
ไทหย่า คือกลุ่มชนชาวไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นอาศัยเดิมในตำบลโมซาเจียง อำเภอซินผิง จังหวัดยิ่วซี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวจีนเรียกคนไทกลุ่มนี้ว่าฮวาเย่าไต แปลว่าไทเอวลาย ชาวไตหย่าบางส่วนได้อพยพมายังสิบสองปันนา บางส่วนเข้าสู่พม่าและไทย [1]มีประชากร 60,000 คน พูดภาษาไต (ไตตะวันตกเฉียงใต้) ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาคำ-ไต ตระกูลภาษาไท-กะได
ชาวไทยหย่าตั้งบนเรือนอยู่รวมกันเป็น หมู่ ๆ ในอาณาเขตของจีน ไม่มีพื้นที่นาเป็นของตนเอง ต้องอาศัยรับจ้างทำนาหรือเช่านาจากพวกชาวจีนฮ่อ (ยูนนาน) มักถูกรบกวนจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเก็บภาษีอากรสูง เกณฑ์ผู้คนไปทำถนนหนทาง เอาไปเป็นคนใช้ ทหาร ฯลฯ เมื่อถูกรบกวนหนักเข้าชาวไทยหย่าบางเหล่าจึงอพยพลงมาใต้มาอาศัยอู่บริเวณ ใกล้เคียงเมืองเชียงรุ่ง ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ที่ดินว่างเปล่าอยู่บ้าง และได้อพยพเข้ามาอยู่ในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ใน พ.ศ. 2490 พบว่ามีจำนวนชาวไทยใหญ่ในจังหวัดเชียงรายมีประมาณ 1,000 คน
ขนบธรรมเนียมการแต่งกาย ของผู้หญิงชาวไทยหย่าต่างกันกับชาวไตลื้อ ชาวไตเชียงรุ่ง และชาวไทหย่าซึ่งอยู่ใต้ลงไป ชาวไทยหย่าสวมเสื้อดำ แขนยามแบบรูปกระบอก ๒ ชั้น ผ้าซิ่น ๒ ชั้น มีลูกไม้ลวดลายต่าง ๆ ติดตรงปลายผ้าข้างล่าง เสื้อในสีดำแลบออกมาให้เห็นเกือบทั้งตัว คอสูงชิดรอบคอ เสื้อสั้นเหนือเอว ผ่าอกข้างขวาระดับเดียวกันกับยอดนม ตรงริมชายเสื้อและตรงข้างหน้าอก ใช้ผ้าสีน้ำเงินแดงขาวเย็บติดสลับกัน บางคนปักเป็นลวดลายด้วยกระดุมเปลือกหอย ตัวเสื้อนี้สั้นครึ่งหน้าอกครึ่งหลัง ใต้ลงไปปล่อยให้มองเห็นเสื้อชั้นใน ผ่าข้างลงมาจากบ่าข้างริมคอทั้ง ๒ ข้าง ติดแถบผ้าสีต่าง ๆ ปักลวดลายงดงาม
ชาวไทหย่าเป็นคนไท ไม่ใช่ชาวจีนฮ่อ สังเกตได้จากรูปร่างลักษณะท่าทางตลอดจนอุปนิสัยจิตใจและภาษาคล้ายกับคนไทใน ภาคเหนือ ไทเขิน ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทเชียงรุ่ง ในเขตรัฐฉานของพม่าและตอนใต้มณฑล ยูนนานของจีน มีใบหน้ารูปไข่ ผิวค่อนข้างขาว เพราะอยู่ในโซนปานกลาง รูปร่างลักษณะได้ขนาดเดียวกัน หางคิ้วไม่ยกขึ้นอย่างชาวจีน ความเป็นอยู่ขนบธรรมเนียมและภาษาผิดกับชาวจีนฮ่อหลายอย่าง ภาษาบางคำตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันในภาคกลางของประเทศไทย ที่แปร่งไปบ้าง เช่น คำว่า เสื้อเป็นเซ้อ หัวเป็นโห อยู่ดีหรือไม่อยู่ดี เป็นอู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำที่ปนกับคำจีน เช่น คำว่า “ อู๋หลาย ” หรือมีหลายนั้น คำว่า “ อู๋ ” ในภาษาจีนแปลว่า “ มี ” ส่วนคำว่า “ หลาย ” เป็นคำไทย บางคำคล้ายภาษาไทใหญ่ที่ใช้กัน เช่น คำว่า “ ไป" ” ขาวไทหย่าว่า “ ก๋า ” ชาวไทใหญ่ว่า “ กว่า ” ไปเที่ยวว่า “ ก๋าห่อน ” กล้วยว่าเกี้ยว อ้อยว่าแอ้ว ฟันไม้ว่ากีดไม้ แต่ก็มีบางคำไม่ทราบว่ามาจากชาติไหน เช่น คำว่ากางเกงเป็นเดี๋ยว มากี่คนเป็นมาจิก้อ ฯลฯ ชาวไทหย่าเหล่านี้ฟังภาษาไทยกลาง (กรุงเทพฯ) ออก เครื่องดนตรีมีแคน ปี่แน กับซึง ชอบร้องเพลง