http://ppantip.com/topic/33692141 - โครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเมืองอีก 10 ปี ข้างหน้าที่มีเอกชนรับสัมปทานผูกขาด
ต่อไปการแข่งขันเพื่อให้เอกชนมาเดินรถไฟฟ้าของประเทศไทย ที่เคยมีข่าวว่าจะเป็นโอกาสให้เอกชนรายอื่นมาแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นเอกชนในประเทศหรือโดยเฉพาะต่างประเทศ มาประมูลเดินรถไฟฟ้า จะไม่ให้มีมีการเปิดประมูลแข่งแล้ว (ถ้าประมูลก็อาจจะประมูลแบบหลอกประชาชน แต่จะถูกเลือกไว้แล้ว)
เนื่องจากผู้ที่ใฝ่หาผลประโยชน์ พยายามจะรวบรัดทำให้เกิดการผูกขาดทางการเดินรถไฟฟ้า เพื่อผลประโยชน์กับตัวเอง
อนาคต...โครงการรถไฟฟ้าที่สร้างใหม่ทั้งหมดทุกเส้นทาง ถ้าสถานีไหนเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าเดิมที่บริษัทเอกชนระหว่าง บริษัท BMCL(เจ้าของคุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์ ที่ติดอัน50 รวยที่สุดในไทย ปี 2558 ด้วยเงิน 1.43 หมื่นร้านบาท) กับ บริษัท BTS
ที่รับสัมปทานอยู่แล้ว เจ้าของนั้นก็จะได้รับการดูแลไปโดนปริยาย (ถ้าประมูลก็อาจจะประมูลแบบหลอกๆประชาชน แต่ตัวจริงคือ 2 บริษัทที่รับสัมปทานตั้งแต่แรกอยู่แล้ว)
หลายท่านอาจสงสัยทำไมต้องเอยชื่อคุณ คุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์ ที่เป็นเจ้าของ BMCL และทำไมต้องบอกว่ารวยติด 50 อันดับที่สุดในประเทศไทย
ก็เพราะว่าเขาจะไม่รวยอยู่แค่อันดับที่ 50 แต่จะรวยมากกว่านี้ แล้วท่านคิดดูเองว่าอะไรจะทำให้เขารวยได้(จะไม่ต่างจากเจ้าของ 7)
แล้วมันก็กำลังจะมาถึง
1.รถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่-บางซื่อ) ที่กำลังจะเปิดทดลองใช้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่ง BMCL ก็ได้รับสัมปทาน ไป (ลองหารายละเอียดดูนะว่าเป็นมาอย่างไร)
2.รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ส่วนต่อขยาย (หัวลำโพง-บางแคและบางซื่อ-ท่าพระ) ได้มีการยกเลิก
พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ หรือ พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ มาตรา13 และมีมติให้ใช้ พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ มาตรา 16
คือ ไม่ใช้วิธีการให้เอกชนต่างๆมาเประมูลแข่งกันประกวดราคา แต่จะใช้วิธีเจรจากับบริษัทเอกชนนั้นๆเลย ว่าเราให้คุณรับสัมปทานโครงการนี้ (เอกชนสบาย ไม่ต้องเสนอราคา ต่างๆนาๆ มีคนยกโครงการมาให้ดูแล) ซึ่งคงหนีไม่พ้น บริษัท BMCL ของคุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์
____________________________________________________________________________________________
มาทำความรู้จักกับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ระหว่าง มาตรา 13 กับ 16 กัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ หมวด 3
การดำเนินโครงการ
-----
มาตรา 12 เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในโครงการใดแล้ว
ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการร่างประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมงานหรือ
ดำเนินการร่างขอบเขตของโครงการและเงื่อนไขสำคัญที่จะต้องมีในสัญญา
ร่วมงานหรือดำเนินการ
มาตรา 13 ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการแต่งตั้งคณะกรรมการ
คณะหนึ่งประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงเจ้าสังกัดซึ่งเป็นข้าราชการประจำ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานหน่วยงานอื่นของรัฐหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
แล้วแต่กรณี เป็นประธาน ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนสำนักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนสำนักงบประมาณ
ผู้แทนกระทรวงอื่นอีกสองกระทรวง กระทรวงละหนึ่งคน ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน
สามคน เป็นกรรมการ และให้มีผู้แทนหน่วยงานเจ้าของโครงการหนึ่งคน
เป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา 14 ให้คณะกรรมการตามมาตรา 13 มีอำนาจและหน้าที่
ดังต่อไปนี้
(1) พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างประกาศเชิญชวนเอกชนเข้า
ร่วมงานหรือดำเนินการ ร่างขอบเขตของโครงการและเงื่อนไขสำคัญที่จะ
ต้องมีในสัญญาร่วมงานหรือดำเนินการ
(2) กำหนดหลักประกันซองและหลักประกันสัญญา
(3) พิจารณาคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ
(4) พิจารณาดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการตามที่เห็น
สมควร
มาตรา 15 การประกาศเชิญชวน เอกสารข้อเสนอการร่วมงาน
หรือดำเนินการ วิธีการประกาศเชิญชวน วิธีการคัดเลือกของคณะกรรมการ
ซึ่งจะต้องใช้วิธีประมูล การกำหนดหลักประกันซองและหลักประกันสัญญา
ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 16 ในการคัดเลือกให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ
หากคณะกรรมการมีความเห็นว่า ไม่ควรใช้วิธีการคัดเลือกโดยวิธีประมูลและ
หน่วยงานเจ้าของโครงการเห็นชอบด้วย ให้รายงานสำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกระทรวงการคลัง หากสอง
หน่วยงานเห็นพ้องด้วยให้เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ
ถ้าหน่วยงานเจ้าของโครงการไม่เห็นด้วยกับความเห็นของ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ทำบันทึกความเห็นเสนอสำนักงานคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกระทรวงการคลังเพื่อ
ประกอบการพิจารณา หากสองหน่วยงานเห็นพ้องด้วยหรือถ้าหน่วยงานหนึ่ง
หน่วยงานใดมีความเห็นไม่ตรงกัน ให้ใช้วิธีคัดเลือกโดยวิธีประมูล
มาตรา 17 ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบโครงการตาม
มาตรา 12 ที่มีวงเงินหรือทรัพย์สินเกินห้าพันล้านบาท หน่วยงานเจ้าของ
โครงการต้องให้ที่ปรึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามประกาศตามมาตรา 7 ร่าง
ขอบเขตของโครงการและให้จัดทำความเห็นประเมินการคัดเลือกให้เอกชน
เข้าร่วมงานหรือดำเนินการตามโครงการนั้น
มาตรา 18 การประกาศเชิญชวนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือ
ดำเนินการครั้งใด ถ้าไม่มีผู้เสนอเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ให้ยกเลิก
การประกาศเชิญชวนเพื่อดำเนินการใหม่ ถ้ามีผู้เสนอเพียงรายเดียวหรือ
หลายราย แต่เสนอถูกต้องตามรายการในเอกสารข้อเสนอการร่วมงาน
หรือดำเนินการตามมาตรา 15 เพียงรายเดียว หากเห็นว่ารัฐจะได้
ประโยชน์ก็ให้ดำเนินการต่อไปได้
มาตรา 19 การประชุมพิจารณาของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการ
เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็น
องค์ประชุม
มติที่ประชุมเกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอและเจรจาต่อรอง
ต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการที่มาประชุม
กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง
เท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่มอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา 20 ให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาร่างสัญญา
ร่วมงานหรือดำเนินการก่อนลงนาม
มาตรา 21 ให้คณะกรรมการนำผลการคัดเลือกพร้อมเหตุผล
ประเด็นที่เจรจาต่อรองเรื่องผลประโยชน์ของรัฐ ร่างสัญญา และเอกสาร
ทั้งหมดเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ภายในเก้าสิบวันนับจากวันที่คณะกรรมการตัดสิน
หากคณะรัฐมนตรีไม่เห็นด้วยให้ส่งเรื่องคืนคณะกรรมการ เพื่อ
พิจารณาทบทวนความเห็น แล้วนำผลการพิจารณาเสนอให้คณะรัฐมนตรีตัดสิน
ชี้ขาด
สรุปแบบง่ายๆ
มาตรา 13 ให้เอกชนมาร่วมแข่งขันประมูลงาน
มาตรา 16 ไม่มีการประมูล รัฐเลือกเลยว่าจะให้ใครมาดูแลรับสัมปทานโครงการ
แต่ต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ใหญ่ด้วยนะ และสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีผลประโยชน์หรือใต้โต๊ะ ที่ทำให้ผู้มีอำนาจเห็นพ้อง อนุมัติให้เกิดการใช้มาตรา 16 นี้
________________________________________________________________________________
3.รถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ (แบริ่ง-สมุทรปราการ) ที่กำลังสร้าง ที่จะต่อกับสถานี แบริ่ง ของ BTS (และแน่นอนเชื่อมต่อกับ BTS ใครจะได้) - ไม่มีการประมูลเช่นเดิม
4.รถไฟฟ้าสายสีเขียวเหนือ(หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต) กำลังจะก่อนสร้าง มิ.ย.58 - ไม่มีการประมูลเช่นเดิม
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000053366
และโครงการอื่นๆที่จะเกิดขึ้นก็ จะไม่มีทางได้มีการแข่งขัน สุดท้ายจะมีแค่ 2 บริษัทนี้ ที่ได้หน้าที่รับสัมปทานรถไฟฟ้าไปดูแล
โดยรัฐบาลจะชอบบอกว่ามันเป็นข้อดีต่อประชาชน ที่จะได้นั่งรถไฟทีเดียว ไม่ต้องไปต่อหลายต่อ และค่าโดยสารถูก
แต่ปัจจุบันค่าโดยสายมีแต่ปรับขึ้นๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ คุณยังไม่มีสิทธิไปทำให้เอกชนปรับลดราคาได้เลย สุดท้ายอีก 10 ปีมาถึง รถไฟฟ้าจะไม่ถูกอย่างที่คิดแน่นอน และคนที่ใช้บริการรถไฟฟ้าก็จะแออัดไม่ต่างจากรถเมย์ แต่มันกับทำให้เอกชนเพียงไม่กี่กลุ่มรวยยยยยมหาศาล ส่วนรัฐบาลกับประชาชนก็เป็หนี้เหมือนเดิม(รวยเฉพาะคนที่ได้รับผลประโยชน์กับโครงการเหล่านี้)
พวกท่านลองดูต่อไปนะ ถ้าไม่ตื่นตัวกันซักที
โครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเมืองอีก 10 ปี ข้างหน้าที่มีเอกชนรับสัมปทานผูกขาด (ต่อ1)
ต่อไปการแข่งขันเพื่อให้เอกชนมาเดินรถไฟฟ้าของประเทศไทย ที่เคยมีข่าวว่าจะเป็นโอกาสให้เอกชนรายอื่นมาแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นเอกชนในประเทศหรือโดยเฉพาะต่างประเทศ มาประมูลเดินรถไฟฟ้า จะไม่ให้มีมีการเปิดประมูลแข่งแล้ว (ถ้าประมูลก็อาจจะประมูลแบบหลอกประชาชน แต่จะถูกเลือกไว้แล้ว)
เนื่องจากผู้ที่ใฝ่หาผลประโยชน์ พยายามจะรวบรัดทำให้เกิดการผูกขาดทางการเดินรถไฟฟ้า เพื่อผลประโยชน์กับตัวเอง
อนาคต...โครงการรถไฟฟ้าที่สร้างใหม่ทั้งหมดทุกเส้นทาง ถ้าสถานีไหนเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าเดิมที่บริษัทเอกชนระหว่าง บริษัท BMCL(เจ้าของคุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์ ที่ติดอัน50 รวยที่สุดในไทย ปี 2558 ด้วยเงิน 1.43 หมื่นร้านบาท) กับ บริษัท BTS
ที่รับสัมปทานอยู่แล้ว เจ้าของนั้นก็จะได้รับการดูแลไปโดนปริยาย (ถ้าประมูลก็อาจจะประมูลแบบหลอกๆประชาชน แต่ตัวจริงคือ 2 บริษัทที่รับสัมปทานตั้งแต่แรกอยู่แล้ว)
หลายท่านอาจสงสัยทำไมต้องเอยชื่อคุณ คุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์ ที่เป็นเจ้าของ BMCL และทำไมต้องบอกว่ารวยติด 50 อันดับที่สุดในประเทศไทย
ก็เพราะว่าเขาจะไม่รวยอยู่แค่อันดับที่ 50 แต่จะรวยมากกว่านี้ แล้วท่านคิดดูเองว่าอะไรจะทำให้เขารวยได้(จะไม่ต่างจากเจ้าของ 7)
แล้วมันก็กำลังจะมาถึง
1.รถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่-บางซื่อ) ที่กำลังจะเปิดทดลองใช้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่ง BMCL ก็ได้รับสัมปทาน ไป (ลองหารายละเอียดดูนะว่าเป็นมาอย่างไร)
2.รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ส่วนต่อขยาย (หัวลำโพง-บางแคและบางซื่อ-ท่าพระ) ได้มีการยกเลิก พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ หรือ พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ มาตรา13 และมีมติให้ใช้ พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ มาตรา 16
คือ ไม่ใช้วิธีการให้เอกชนต่างๆมาเประมูลแข่งกันประกวดราคา แต่จะใช้วิธีเจรจากับบริษัทเอกชนนั้นๆเลย ว่าเราให้คุณรับสัมปทานโครงการนี้ (เอกชนสบาย ไม่ต้องเสนอราคา ต่างๆนาๆ มีคนยกโครงการมาให้ดูแล) ซึ่งคงหนีไม่พ้น บริษัท BMCL ของคุณ ปลิว ตรีวิศวเวทย์
____________________________________________________________________________________________
มาทำความรู้จักกับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ระหว่าง มาตรา 13 กับ 16 กัน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สรุปแบบง่ายๆ
มาตรา 13 ให้เอกชนมาร่วมแข่งขันประมูลงาน
มาตรา 16 ไม่มีการประมูล รัฐเลือกเลยว่าจะให้ใครมาดูแลรับสัมปทานโครงการ
แต่ต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ใหญ่ด้วยนะ และสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีผลประโยชน์หรือใต้โต๊ะ ที่ทำให้ผู้มีอำนาจเห็นพ้อง อนุมัติให้เกิดการใช้มาตรา 16 นี้
________________________________________________________________________________
3.รถไฟฟ้าสายสีเขียวใต้ (แบริ่ง-สมุทรปราการ) ที่กำลังสร้าง ที่จะต่อกับสถานี แบริ่ง ของ BTS (และแน่นอนเชื่อมต่อกับ BTS ใครจะได้) - ไม่มีการประมูลเช่นเดิม
4.รถไฟฟ้าสายสีเขียวเหนือ(หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต) กำลังจะก่อนสร้าง มิ.ย.58 - ไม่มีการประมูลเช่นเดิม
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000053366
และโครงการอื่นๆที่จะเกิดขึ้นก็ จะไม่มีทางได้มีการแข่งขัน สุดท้ายจะมีแค่ 2 บริษัทนี้ ที่ได้หน้าที่รับสัมปทานรถไฟฟ้าไปดูแล
โดยรัฐบาลจะชอบบอกว่ามันเป็นข้อดีต่อประชาชน ที่จะได้นั่งรถไฟทีเดียว ไม่ต้องไปต่อหลายต่อ และค่าโดยสารถูก
แต่ปัจจุบันค่าโดยสายมีแต่ปรับขึ้นๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ คุณยังไม่มีสิทธิไปทำให้เอกชนปรับลดราคาได้เลย สุดท้ายอีก 10 ปีมาถึง รถไฟฟ้าจะไม่ถูกอย่างที่คิดแน่นอน และคนที่ใช้บริการรถไฟฟ้าก็จะแออัดไม่ต่างจากรถเมย์ แต่มันกับทำให้เอกชนเพียงไม่กี่กลุ่มรวยยยยยมหาศาล ส่วนรัฐบาลกับประชาชนก็เป็หนี้เหมือนเดิม(รวยเฉพาะคนที่ได้รับผลประโยชน์กับโครงการเหล่านี้)
พวกท่านลองดูต่อไปนะ ถ้าไม่ตื่นตัวกันซักที