ติดตามอ่านตัวเต็มได้ท่ี
Newyork times
เมือง "HIRADO "
วารสารในเทศบาลจะแจ้งว่าใครเป็นผู้บริจาคและส่งมอบสินค้าใดไปให้บ้าง
การอุดหนุนชุมชนแบบเมือง Hirodo ด้วยการลดหย่อนภาษีให้ผู้บริจาคให้กับเมือง Hirodo ในเงินที่ประชาชนได้บริจาค
นอกเหนือจากการลดภาษียังเป็นเหมือนการทำสมาชิก ที่จะรับส่วนลดเวลาสั่งซื้อสินค้าจากเมือง
โครงการเริ่มในปี 2008 เริ่มต้นในปีแรกมีผู้บริจาคกว่า 36000 คน. แต่ก็ประสบปัญหาพอสมควรในการดำเนินงานด้วยขาดเงินทุน
จนปรับเพิ่มการสื่อสารหลายๆช่องทางรวมถึง website. และสื่อ online. จนผ่านอุปสรรคมาได้ ถึงขณะนี้มีผู้บริจาคจนไม่อาจนับได้
ในปีที่แล้ว งบมีรายรับอยู่ที่ 146,000 ล้านเยน. ในบทความนี้มีหลายสิ่งที่น่าสนใจมากในการช่วยเหลือชุมชน
ให้ชาวบ้านไม่ทิ้งชุมชนและมีรายได้เลี้ยงตัวเอง และยังมีแนวทางแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างเมืองเช่นสินค้าเทคโนโลยีกับสินค้าในชุมชน
barter trade.
แล้วการนำมาปรับใช้กับเมืองไทยหล่ะ สิ่งนี้ที่น่าสนใจ ผมเชื่อว่ามี องค์การส่วนท้องถิ่นที่ไปดูงานมาแล้ว
ปัญหาขั้นต้นคือ ลักษณะนิสัยของเรา ความรับผิดชอบต่อสินค้าที่ผลิต. การควบคุมคุณภาพให้มีมาตราฐานในระดับเดียวกัน
นี่คือส่วนของ QC ที่เป็นเรื่องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยน ส่วนนโยบายการบริจาคเพื่อลดหย่อนภาษี ก็มีเป็นปกติ.
แต่ความน่าสนใจคือการบริจาคให้ชุมชน ผ่านเทศบาล ให้ชุมชนสามารถระดมทุนได้ มีติดขัดในข้อกฏหมายบ้างไหมครับ
การช่วยเหลือชุมชนด้วยความเต็มใจก็น่าจะเป็นทางที่ดีอีกทางนึง ลดภาระของรัฐ
ผมว่ายังดูเข้าท่ากว่าบริจาคภาษีให้พรรคการเมืองอีกนะ
-----แนวคิดการอุดหนุนชึน HIRADO (นางาซากิ) กับความเหมาะสมกับชุมชนวิถีแบบไทยๆ-----
Newyork times
เมือง "HIRADO "
วารสารในเทศบาลจะแจ้งว่าใครเป็นผู้บริจาคและส่งมอบสินค้าใดไปให้บ้าง
การอุดหนุนชุมชนแบบเมือง Hirodo ด้วยการลดหย่อนภาษีให้ผู้บริจาคให้กับเมือง Hirodo ในเงินที่ประชาชนได้บริจาค
นอกเหนือจากการลดภาษียังเป็นเหมือนการทำสมาชิก ที่จะรับส่วนลดเวลาสั่งซื้อสินค้าจากเมือง
โครงการเริ่มในปี 2008 เริ่มต้นในปีแรกมีผู้บริจาคกว่า 36000 คน. แต่ก็ประสบปัญหาพอสมควรในการดำเนินงานด้วยขาดเงินทุน
จนปรับเพิ่มการสื่อสารหลายๆช่องทางรวมถึง website. และสื่อ online. จนผ่านอุปสรรคมาได้ ถึงขณะนี้มีผู้บริจาคจนไม่อาจนับได้
ในปีที่แล้ว งบมีรายรับอยู่ที่ 146,000 ล้านเยน. ในบทความนี้มีหลายสิ่งที่น่าสนใจมากในการช่วยเหลือชุมชน
ให้ชาวบ้านไม่ทิ้งชุมชนและมีรายได้เลี้ยงตัวเอง และยังมีแนวทางแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างเมืองเช่นสินค้าเทคโนโลยีกับสินค้าในชุมชน
barter trade.
แล้วการนำมาปรับใช้กับเมืองไทยหล่ะ สิ่งนี้ที่น่าสนใจ ผมเชื่อว่ามี องค์การส่วนท้องถิ่นที่ไปดูงานมาแล้ว
ปัญหาขั้นต้นคือ ลักษณะนิสัยของเรา ความรับผิดชอบต่อสินค้าที่ผลิต. การควบคุมคุณภาพให้มีมาตราฐานในระดับเดียวกัน
นี่คือส่วนของ QC ที่เป็นเรื่องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยน ส่วนนโยบายการบริจาคเพื่อลดหย่อนภาษี ก็มีเป็นปกติ.
แต่ความน่าสนใจคือการบริจาคให้ชุมชน ผ่านเทศบาล ให้ชุมชนสามารถระดมทุนได้ มีติดขัดในข้อกฏหมายบ้างไหมครับ
การช่วยเหลือชุมชนด้วยความเต็มใจก็น่าจะเป็นทางที่ดีอีกทางนึง ลดภาระของรัฐ
ผมว่ายังดูเข้าท่ากว่าบริจาคภาษีให้พรรคการเมืองอีกนะ