เถียงกันไม่สิ้นสุดเกี่ยวกับเรื่องสิทธิ์เท่าหรือไม่เท่ากันของคนในชาติ
จากการถกเถีรยงเรื่องนี้แหละที่ลามไปถกเถียงเรื่องอื่นๆ ที่ไม่มีวันยอมรับกันได่
เพราะอะไร ?
ประชาชนส่วนหนึ่ง เชื่อตามปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษย์ชนตาม
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยการรับรองของที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สำหรับเป็นหลักประกันสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน โดยไม่มีการแบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติทางใดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ สถานะทางสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
ประชาชนอีกกลุ่มหนึ่ง เอ้า จะเรียกว่ากลุ่มมวลมหาประชาชนเขาไม่ได้เชื่อตามปฏิญญาสากลข้างต้น
เขาไม่เชื่อว่า ประชาชนหรือคนทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่ว่าด้านการเป็นอยู่ ด้านกำเนิด ด้านการศึกษา ด้านการเสียภาษี ด้านความสูงส่งศักดิ์ศรี ด้านรายได้ ฯลฯ
ดังนั้น เขายืนยันว่าคนแต่ละคนจึงไม่ควรมีสิทธิ์ มีเสียงที่เท่ากัน เมื่อ เชื่อว่าสิทธิเสียงไม่ควรเท่ากัน ดังนั้นการปฏิบัติของรัฐต่อประชา ชนแต่ละคนจะต้องไม่เท่าเทียมกัน ฯลฯ
ก็ในเมื่อแต่ละกลุ่มมีแนวคิด หรือความเชื่อที่ไม่เหมือนกัน แล้วมันจะมีทางตกลงกันได้หรือ ?
เพื่อแก้ปัญหาง่ายๆ รัฐบาลประกาศออกมาเลย เพราะรัฐบาลเชื่อในความเป็นมนุษย์ของคนไทย มันไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้นจะมาเรียกร้องให้กฏหมายก็ดี การปกครองก็ดี การปฏิบัติต่อประชาชนแต่ละคนก็ดีให้เหมือนกัน มันคงยาก
ประกาศแค่นี้จริงๆ ประชาชนเขาจะได้สำนึกตัวเองละว่า จะมาเรียกร้องหาอะไรนักหนา
เอ้า ทีนี้หากยังมีแตกแยกความเห็นเรื่องนี้อีก
รัฐบาลก็เลือกตัดสินสิ
จะตัดสินตามความเชื่อ หรือแนวคิดของ มวลมหาประชาชนดี หรือ แนวคิดอีกแบบ
ก็เลือกเอาสิ จะให้ลงประชามติไหม ถ้าลงจะเลือกยึดเอาเสียงข้างไหน
ก็ง่ายอีกสำหรับรัฐบาล ประกาศออกมาก่อนเลย จะขอยึดเอาเสียงข้างน้อยเป็นตัวกำหนดนโยบายปฏิบัติของรัฐบาล
แค่นี้ก็จบจริง
ยอมรับไหม ว่า การตีความ ความเป็นมนุษย์ไม่เหมือนกัน ?
จากการถกเถีรยงเรื่องนี้แหละที่ลามไปถกเถียงเรื่องอื่นๆ ที่ไม่มีวันยอมรับกันได่
เพราะอะไร ?
ประชาชนส่วนหนึ่ง เชื่อตามปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษย์ชนตาม
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยการรับรองของที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สำหรับเป็นหลักประกันสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน โดยไม่มีการแบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติทางใดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ สถานะทางสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
ประชาชนอีกกลุ่มหนึ่ง เอ้า จะเรียกว่ากลุ่มมวลมหาประชาชนเขาไม่ได้เชื่อตามปฏิญญาสากลข้างต้น
เขาไม่เชื่อว่า ประชาชนหรือคนทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่ว่าด้านการเป็นอยู่ ด้านกำเนิด ด้านการศึกษา ด้านการเสียภาษี ด้านความสูงส่งศักดิ์ศรี ด้านรายได้ ฯลฯ
ดังนั้น เขายืนยันว่าคนแต่ละคนจึงไม่ควรมีสิทธิ์ มีเสียงที่เท่ากัน เมื่อ เชื่อว่าสิทธิเสียงไม่ควรเท่ากัน ดังนั้นการปฏิบัติของรัฐต่อประชา ชนแต่ละคนจะต้องไม่เท่าเทียมกัน ฯลฯ
ก็ในเมื่อแต่ละกลุ่มมีแนวคิด หรือความเชื่อที่ไม่เหมือนกัน แล้วมันจะมีทางตกลงกันได้หรือ ?
เพื่อแก้ปัญหาง่ายๆ รัฐบาลประกาศออกมาเลย เพราะรัฐบาลเชื่อในความเป็นมนุษย์ของคนไทย มันไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้นจะมาเรียกร้องให้กฏหมายก็ดี การปกครองก็ดี การปฏิบัติต่อประชาชนแต่ละคนก็ดีให้เหมือนกัน มันคงยาก
ประกาศแค่นี้จริงๆ ประชาชนเขาจะได้สำนึกตัวเองละว่า จะมาเรียกร้องหาอะไรนักหนา
เอ้า ทีนี้หากยังมีแตกแยกความเห็นเรื่องนี้อีก
รัฐบาลก็เลือกตัดสินสิ
จะตัดสินตามความเชื่อ หรือแนวคิดของ มวลมหาประชาชนดี หรือ แนวคิดอีกแบบ
ก็เลือกเอาสิ จะให้ลงประชามติไหม ถ้าลงจะเลือกยึดเอาเสียงข้างไหน
ก็ง่ายอีกสำหรับรัฐบาล ประกาศออกมาก่อนเลย จะขอยึดเอาเสียงข้างน้อยเป็นตัวกำหนดนโยบายปฏิบัติของรัฐบาล
แค่นี้ก็จบจริง