คือ.. ที่ตั้งคำถามไม่ใช่ว่าอะไรหรอกค่ะ สงสัยว่า อันไหนที่ทำแล้วทำร้ายเด็กกว่ากัน
เพราะ เคยอ่านในกระทู้พันทิปบ้างข่าวบ้างละครบ้าง เกี่ยวกะกรณีที่ ปัญหาครอบครัวที่มีชู้บ้าง หรือไม่ก็ไม่ใส่ใจกันมากพอ หรือปัญหาร้อยแปดพันเก้า
และปัญหาทุกอย่างมักจะได้ยินผู้เป็น "พ่อหรือแม่" มักจะพูดว่า..
"ที่ทนทนเพื่อลูก ไม่อยากให้เขาเสียใจ พอมีลูกก็ต้องทำอะไรแล้วนึกถึงลูกไม่อยากทำร้ายจิตใจลูกๆเลยทนยอมผู้เป็น......"
แล้วถ้าปัญหามันเกิดลูกก็รู้ว่าพ่อแม่มีปัญหา แล้วลูกๆจริงๆแล้วรู้สึกนึกคิดยังไงกันคะ เห็นสภาพครอบครัว
ถ้าพ่อแม่ทะเลาะกันประจำหรือแยกทางกันไป อันไหนมันรู้สึกทำร้ายกว่ากัน
เลยตั้งคำถามสงสัยอยากรู้คนที่มีประสบณ์การณ์ด้านนี้..
หลายครั้งเห็นบางกระทู้หรือบางครอบครัว เห็นทะเลาะกันทุกวันต่อหน้าลูก
หรือ.. หลายครั้งที่พบปัญหาพ่อแม่แยกทางกัน แล้วก็เกิดปัญหาเกี่ยวกะลูกๆ
คหสต. เราคิดว่าเอาตามสบายใจของผู้ที่โดนทำร้ายมากกว่า ไม่ว่าจะเป็นพ่อหรือแม่ ถ้าเราเจอปัญหาแบบนี้เราจะรู้สึกไปที่คนที่ถูกทำร้ายมากกว่าแล้วเราจะไม่ให้เขาทนเพื่อเรานะ เพราะ เราจะคิดว่า ทนไปเพื่ออะไรในเมื่ออีกคนเห็นคุณค่าของคำว่าครอบครัวหรือลูกๆน้อยลง
พ่อแม่ทะเลาะกัน กับ พ่อแม่แยกทางกัน อันไหนทำร้ายเด็กที่สุดคะ
เพราะ เคยอ่านในกระทู้พันทิปบ้างข่าวบ้างละครบ้าง เกี่ยวกะกรณีที่ ปัญหาครอบครัวที่มีชู้บ้าง หรือไม่ก็ไม่ใส่ใจกันมากพอ หรือปัญหาร้อยแปดพันเก้า
และปัญหาทุกอย่างมักจะได้ยินผู้เป็น "พ่อหรือแม่" มักจะพูดว่า..
"ที่ทนทนเพื่อลูก ไม่อยากให้เขาเสียใจ พอมีลูกก็ต้องทำอะไรแล้วนึกถึงลูกไม่อยากทำร้ายจิตใจลูกๆเลยทนยอมผู้เป็น......"
แล้วถ้าปัญหามันเกิดลูกก็รู้ว่าพ่อแม่มีปัญหา แล้วลูกๆจริงๆแล้วรู้สึกนึกคิดยังไงกันคะ เห็นสภาพครอบครัว
ถ้าพ่อแม่ทะเลาะกันประจำหรือแยกทางกันไป อันไหนมันรู้สึกทำร้ายกว่ากัน
เลยตั้งคำถามสงสัยอยากรู้คนที่มีประสบณ์การณ์ด้านนี้..
หลายครั้งเห็นบางกระทู้หรือบางครอบครัว เห็นทะเลาะกันทุกวันต่อหน้าลูก
หรือ.. หลายครั้งที่พบปัญหาพ่อแม่แยกทางกัน แล้วก็เกิดปัญหาเกี่ยวกะลูกๆ
คหสต. เราคิดว่าเอาตามสบายใจของผู้ที่โดนทำร้ายมากกว่า ไม่ว่าจะเป็นพ่อหรือแม่ ถ้าเราเจอปัญหาแบบนี้เราจะรู้สึกไปที่คนที่ถูกทำร้ายมากกว่าแล้วเราจะไม่ให้เขาทนเพื่อเรานะ เพราะ เราจะคิดว่า ทนไปเพื่ออะไรในเมื่ออีกคนเห็นคุณค่าของคำว่าครอบครัวหรือลูกๆน้อยลง