คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
รสชาติ ถูกแล้ว
คำว่า รสชาติ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๖ ระบบไว้ดังนี้ครับ
คำ : รสชาติ
เสียง : รด-ชาด
คำตั้ง : รส
ชนิด : น. (คำนาม)
นิยาม : รส.
----------------------------------------------
ที่นี้เรามาดูคำว่า รส กันบ้างครับ
คำ : รส
เสียง : รด
คำตั้ง : รส
ชนิด : น. (คำนาม)
ที่มา : (ป., ส.) [ป. = ปาลิ (บาลี) , ส. = สันสกฤต]
นิยาม : สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม, โดยปริยายหมายถึง ความรู้สึกชอบใจ สนุก หรือไพเราะ เป็นต้น.
----------------------------------------------
สำหรับคำว่า ชาด นั้นจะมี 2 ความหมายนะครับ
ความหมายที่ 1
คำตั้ง : ชาด
ชนิด : น.
นิยาม : วัตถุสีแดงสดชนิดหนึ่ง เป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี ใช้ทำยาไทยหรือประสมกับน้ำมันสำหรับประทับตราหรือทาสิ่งของ.
ความหมายที่ 2
คำ : ชาด
เสียง : ชาด
คำตั้ง : ชาด
ชนิด : ว. [ว. = วิเศษณ์ (คุณศัพท์หรือกริยาวิเศษณ์) ]
นิยาม : สีแดงสดอย่างหนึ่ง เรียกว่า สีแดงชาด.
-----------------------------------------------
ที่นี้เรามาดูคำว่า ชาติ กันนะครับ คำนี้ถือว่าเป็นคำที่มีคำนิยามเยอะครับ ผมเอารวมให้อย่างย่อแล้วกัน
คำ : ชาติ ๑; ชาติ- ๑
เสียง : ชาด; ชา-ติ-; ชาด-ติ-
นิยาม 1 : การเกิด เช่น ชาตินี้ ชาติหน้า.
นิยาม 2 : กำเนิด เช่น มีชาติมีสกุล.
นิยาม 3 : เหล่ากอ, เทือกเถา, เผ่าพันธุ์, เช่น ชาติเสือ ชาติขี้ข้า.
นิยาม 4 : ชนิด, จำพวก, ชั้น, หมู่.
นิยาม 5 : ประเทศ.
นิยาม 6 : ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ, กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม อย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน, ประชาชาติ ก็ว่า.
นิยาม 7 : คำประกอบท้ายคำศัพท์ เมื่อประกอบเข้าแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคำศัพท์เดิม เช่น พฤกษชาติ คชาชาติ สุคนธชาติ.
นิยาม 8 : รส เช่น ไม่เป็นรสไม่เป็นชาติ.
-------------------------------------------------
ที่มา http://www.roytawan.com/cafe/view.php?id=3045
ค่อนข้างแปลกใจที่ระยะหลังเริ่มมีคนสะกดคำนี้ผิด ทั้งที่มันมีให้เห็นในชีวิตประจำวัน ไม่รู้เพราะถูกครูสมัยนี้สอนมาผิดหรือยังไง เพราะตอนเราเรียนก็เรียน รสชาติ อ่านว่า รด-ชาด ไม่เคยถูกสอนว่า "รสชาด" เลย
คำว่า รสชาติ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๖ ระบบไว้ดังนี้ครับ
คำ : รสชาติ
เสียง : รด-ชาด
คำตั้ง : รส
ชนิด : น. (คำนาม)
นิยาม : รส.
----------------------------------------------
ที่นี้เรามาดูคำว่า รส กันบ้างครับ
คำ : รส
เสียง : รด
คำตั้ง : รส
ชนิด : น. (คำนาม)
ที่มา : (ป., ส.) [ป. = ปาลิ (บาลี) , ส. = สันสกฤต]
นิยาม : สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม, โดยปริยายหมายถึง ความรู้สึกชอบใจ สนุก หรือไพเราะ เป็นต้น.
----------------------------------------------
สำหรับคำว่า ชาด นั้นจะมี 2 ความหมายนะครับ
ความหมายที่ 1
คำตั้ง : ชาด
ชนิด : น.
นิยาม : วัตถุสีแดงสดชนิดหนึ่ง เป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี ใช้ทำยาไทยหรือประสมกับน้ำมันสำหรับประทับตราหรือทาสิ่งของ.
ความหมายที่ 2
คำ : ชาด
เสียง : ชาด
คำตั้ง : ชาด
ชนิด : ว. [ว. = วิเศษณ์ (คุณศัพท์หรือกริยาวิเศษณ์) ]
นิยาม : สีแดงสดอย่างหนึ่ง เรียกว่า สีแดงชาด.
-----------------------------------------------
ที่นี้เรามาดูคำว่า ชาติ กันนะครับ คำนี้ถือว่าเป็นคำที่มีคำนิยามเยอะครับ ผมเอารวมให้อย่างย่อแล้วกัน
คำ : ชาติ ๑; ชาติ- ๑
เสียง : ชาด; ชา-ติ-; ชาด-ติ-
นิยาม 1 : การเกิด เช่น ชาตินี้ ชาติหน้า.
นิยาม 2 : กำเนิด เช่น มีชาติมีสกุล.
นิยาม 3 : เหล่ากอ, เทือกเถา, เผ่าพันธุ์, เช่น ชาติเสือ ชาติขี้ข้า.
นิยาม 4 : ชนิด, จำพวก, ชั้น, หมู่.
นิยาม 5 : ประเทศ.
นิยาม 6 : ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ, กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม อย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน, ประชาชาติ ก็ว่า.
นิยาม 7 : คำประกอบท้ายคำศัพท์ เมื่อประกอบเข้าแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคำศัพท์เดิม เช่น พฤกษชาติ คชาชาติ สุคนธชาติ.
นิยาม 8 : รส เช่น ไม่เป็นรสไม่เป็นชาติ.
-------------------------------------------------
ที่มา http://www.roytawan.com/cafe/view.php?id=3045
ค่อนข้างแปลกใจที่ระยะหลังเริ่มมีคนสะกดคำนี้ผิด ทั้งที่มันมีให้เห็นในชีวิตประจำวัน ไม่รู้เพราะถูกครูสมัยนี้สอนมาผิดหรือยังไง เพราะตอนเราเรียนก็เรียน รสชาติ อ่านว่า รด-ชาด ไม่เคยถูกสอนว่า "รสชาด" เลย
แสดงความคิดเห็น
รสชาด หรือ รสชาติ
ตกลงมันเขียนยังไงกันแน่? เพราะเราจำได้ว่าที่เราเรียนมามันก็ รสชาติ แต่พอถามแม่ แม่ก็บอกว่า รสชาด
เด็กงง?????