สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
หลักการทำงานของหม้อความดันก็คือ ต้มอาหารด้วยความดันที่สูงกว่าความดันปกติที่พื้นผิวโลก
ทำให้อุณหภูมิของน้ำ และ อาหาร ในหม้อนั้นสูงกว่าปกติ ทำให้โมเลกุลของโปรตีนในอาหารก้อนนั้น
เปลี่ยนแปลงไปเป็นเส้นเล็กลง มีสายโซ่ที่สั้นลง อาหารจึงเปื่อยเร็วขึ้นมากกว่าการต้มธรรมดาครับ
การต้มด้วยหม้อความดัน pressure ภายในจะสูงกว่าข้างนอก ทำให้น้ำในหม้อความดันมีจุดเดือดสูงขึ้นครับ
ตามตารางนี้ คือตารางการปรุงด้วยหม้อความดัน จะเห็นว่ายิ่ง setting ไปที่ความดันสูง
อาหารก็จะยิ่งเปื่อยเร็วเพราะสายโซ่โมเลกุลของโปรตีนจะถูกทำลายให้สั้นลงครับ
สภาพของอุณหภูมิในหม้อความดัน
ทำให้อุณหภูมิของน้ำ และ อาหาร ในหม้อนั้นสูงกว่าปกติ ทำให้โมเลกุลของโปรตีนในอาหารก้อนนั้น
เปลี่ยนแปลงไปเป็นเส้นเล็กลง มีสายโซ่ที่สั้นลง อาหารจึงเปื่อยเร็วขึ้นมากกว่าการต้มธรรมดาครับ
การต้มด้วยหม้อความดัน pressure ภายในจะสูงกว่าข้างนอก ทำให้น้ำในหม้อความดันมีจุดเดือดสูงขึ้นครับ
ตามตารางนี้ คือตารางการปรุงด้วยหม้อความดัน จะเห็นว่ายิ่ง setting ไปที่ความดันสูง
อาหารก็จะยิ่งเปื่อยเร็วเพราะสายโซ่โมเลกุลของโปรตีนจะถูกทำลายให้สั้นลงครับ
สภาพของอุณหภูมิในหม้อความดัน
ความคิดเห็นที่ 7
การต้มไข่ ...
แม่บ้าน ห้องครัวทุกคน (ไม่เชื่อไปถามได้) ไม่มีใครอยากเชื่อว่า "ต้มไข่ ไม่ต้องใส่น้ำท่วมไข่"
เพราะแม่บ้านหัวป่าก์เคยชินกับการต้มไข่ ใส่น้ำท่วมไข่ เต้มหม้อ
ผมซื้อเครื่องต้มไข่ของ Siemens มาอันหนึ่ง เวลาใส่ไข่ 1 ฟอง ===> ต้องใส่น้ำเยอะ
แต่ต้มไข่ 4 ฟอง ===> กลับใส่น้ำน้อยๆ
ผมเอาเรื่องนี้ไปวิเคราะห์คุยกับอาจารย์สอนเรื่องความร้อน
จึงรู้ว่า Volume ไข่หลายฟอง มันเข้าไปแทนที่ แย่งอากาศออกไปแล้ว เหลือช่องว่างนิดเดียว
พอน้ำร้อนเป็นไอ ไอเข้ามาแทนที่ voloume อากาศได้เร็ว ===> ไอน้ำก็เกิดแรงดันสูงเร็วกว่า
จากข้อมูลนี้ จึงรู้ว่า การต้มไข่ นั่นไข่สุกด้วย ความร้อน ไม่ใช่ น้ำร้อน
ดังนั้น เอามาประยุกต์ต้มไข่ด้วยหม้อธรรมดา ผมก็ "ใส่น้ำติดก้นหม้อ" ไม่ต้องท่วมไข่
พอน้ำเดือดปุดๆ ผมปิดฝา หรี่ไฟเล็กสุด กดนาฬิกาจับเวลา 7 นาที ปิ้ง
เอาไข่ลงน๊อคน้ำเย็น พอเย็นแล้ว ปอกง่าย ขาวจั๊ว ที่สำคัญไข่แดงเป็นยางมะตูมน่ากิน
ลองทำดูซิครับ
แม่บ้าน ห้องครัวทุกคน (ไม่เชื่อไปถามได้) ไม่มีใครอยากเชื่อว่า "ต้มไข่ ไม่ต้องใส่น้ำท่วมไข่"
เพราะแม่บ้านหัวป่าก์เคยชินกับการต้มไข่ ใส่น้ำท่วมไข่ เต้มหม้อ
ผมซื้อเครื่องต้มไข่ของ Siemens มาอันหนึ่ง เวลาใส่ไข่ 1 ฟอง ===> ต้องใส่น้ำเยอะ
แต่ต้มไข่ 4 ฟอง ===> กลับใส่น้ำน้อยๆ
ผมเอาเรื่องนี้ไปวิเคราะห์คุยกับอาจารย์สอนเรื่องความร้อน
จึงรู้ว่า Volume ไข่หลายฟอง มันเข้าไปแทนที่ แย่งอากาศออกไปแล้ว เหลือช่องว่างนิดเดียว
พอน้ำร้อนเป็นไอ ไอเข้ามาแทนที่ voloume อากาศได้เร็ว ===> ไอน้ำก็เกิดแรงดันสูงเร็วกว่า
จากข้อมูลนี้ จึงรู้ว่า การต้มไข่ นั่นไข่สุกด้วย ความร้อน ไม่ใช่ น้ำร้อน
ดังนั้น เอามาประยุกต์ต้มไข่ด้วยหม้อธรรมดา ผมก็ "ใส่น้ำติดก้นหม้อ" ไม่ต้องท่วมไข่
พอน้ำเดือดปุดๆ ผมปิดฝา หรี่ไฟเล็กสุด กดนาฬิกาจับเวลา 7 นาที ปิ้ง
เอาไข่ลงน๊อคน้ำเย็น พอเย็นแล้ว ปอกง่าย ขาวจั๊ว ที่สำคัญไข่แดงเป็นยางมะตูมน่ากิน
ลองทำดูซิครับ
แสดงความคิดเห็น
หม้อความดันทำให้อาหารสุกเร็วขึ้นเพราะอะไรครับ