มีหลายกระทู้มักจะเขียนต่อว่า หมอ โรงพยาบาล “หมอไม่ดูแล” “พยาบาลช้า”
“เจ้าหน้าที่พูดไม่เพราะ” “โรงพยาบาลรัฐดูแลไม่ดี” กรทู้เหล่านี้เหมือนสิ่งที่บันทอนกำลังใจในการทำงานของคุณหมอ คุณพยาบาล เจ้าหน้าที่เหล่านั้น โดยที่ คนตั้งกระทู้ไม่รู้ตัว หรือคิดไม่ถึงด้วยซ้ำ จขก. ขอสรุปเองตามความคิดว่าอาจเกิดจากความคาดหวัง ที่ผู้รับบริการ ญาติของผู้รับบริการหวังจาก เจ้าหน้าที่ โดยบางที คุณอาจลืมคิดไปก็ได้ว่า ถ้าคุณเป็นเจ้าหน้าที่เหล่านั้น คุณจะทำเช่นไร
คุณรู้ไหม พยาบาลบางคนทำงาน แทบจะ 16 ชม. / วัน ติดต่อกัน 5 วัน /สัปดาห์
คุณรู้ไหม คุณหมอบางคน ทำงานตั้งแต่ เช้าวันนี้ถึงเช้าของอีกวัน
คุณรู้ไหม เจ้าหน้าที่บางคน อาจจะเพิ่งได้นั่งพักตอนที่คุณเดินเข้ามารับบริการ
บางคนคิดว่า ฉันไม่สบาย ป่วย ปวดหัวมาก ทำไมต้องมาถามโน่นนี่ การถามโน่นนี่ ของพยาบาล/เจ้าหน้าที่ คือการซักประวัติเพื่อหาสาเหตุของอาการที่แท้จริง เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา ถ้าไม่ถามก็อาจจะรักษาคุณไม่ถูก
บางคนคิดว่า ทำไมรอนานจัง ฉีดยาได้ไหม นอนรพ.เลยได้ไหม ขอน้ำเกลือหน่อย ที่รอนาน อาจะรอผล Lab ที่ส่งตรวจบางตรวจ /รพ. บางแห่งก็ไม่สามารถ ตรวจได้เลย ต้องส่งไปรพ.ที่ใหญ่กว่า ตามขนาดของรพ. นั้นๆ ไม่มีหมอ/ พยาบาลคนไหนจะปล่อยให้คนไข้เป็นอะไรไปต่อหน้าแน่นนอน
บางคนไม่สบายทั้งวันนอนอยู่บ้าน มาตรวจตอนเย็นเพื่อขอใบรับรองแพทย์ไปยืนที่ทำงาน คุณทราบไหม การที่คุณมาตรวจที่รพ. ตอนเย็น คุณจะต้องเข้าตรวจที่ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ในรพ.ที่ไม่มีการตรวจผู้ป่วยนอก นอกเวลาราชการ คนที่ตรวจคุณ ไม่มีสิทธิ์ออกใบรับรองแพทย์ ไม่มีสิทธิ์สั่งฉีดยา เพราะจะเป็นพยาบาลวิชาชีพในการตรวจรักษาคุณ และแพทย์เวรนอกเวลาในรพ. ต่างจังหวัดขนาดเล็ก จะมีแพทย์เวรเพียง 1 ท่านเท่านั้นในการดูแลผู้ป่วยทั้ง ผู้ทั้งรพ. เมื่อคุณไม่ได้ตามที่ต้องการก็บ่น ร้องเรียน ต่อว่ารพ. และคุณรู้ไหมว่าเวลาคุณมาตรวจนอกเวลาราชการนั้น ถ้ามีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน /คนไข้ที่ฉุกเฉินกว่าคุณต้องรอ คุณอาจจะคิดว่าฉันก็ไม่ไหว แต่คนที่อยู่ในห้องอาจจะแทบหยุดหายใจ จนคุณหมอต้องใส่เครื่องช่วยหายใจก็ได้
คุณรู้ไหม เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน – อุบัติเหตุ ใกล้กับรพ. เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องวิ่ง เตรียมอุปกรณ์เพื่อไปช่วยเหลือคนเจ็บอย่างเร่งด่วน ณ ที่เกิดเหตุ ซึ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเหล่านั้นอาจจะเพิ่งได้ทานข้าง หลังจากที่เหนื่อยมาทั้งวัน ก็ต้องทิ้งทุกอยางที่ทำและวิ่งเพื่อไปช่วยเหลือ ให้เร็วที่สุด
คุณรู้ไหม พยาบาลบางคนเมื่อลงเวรไปแล้ว ต้องโดนเรียกมาช่วยหาก อัตรากำลังไม่พอในการช่วยเหลือผู้ป่วย /ในการส่งต่อผู้ป่วยไปรพ.ที่มีความสามารถเพียงพอผู้ป่วยมากกว่ารพ. ขนาดเล็ก
การที่เขียนกระทูนี้ขึ้นมาไม่ได้อยากจะต่อว่า ใคร แต่อยากให้ทุกคนมองในมุมกลับกัน ว่า ถ้าเราทำงานเป็นเจ้าหน้าที่/หมอพยาบาลเหล่านั้น เราจะทำเช่นไร รพ. พยาบาลทุกรพ. จะจำนวนเจ้าหน้าที่ ตามกรอบที่กระทรวงกำหนด อยากให้ทุกคนลองมองให้เห็นใจ เจ้าหน้าที่ พยาบาล คุณหมอด้วย ว่า พวกเค้าเหล่านี้ทำงานหนักแค่ไหน
ถ้าไม่ให้กำลังใจก็อย่าต่อว่ากันเลย
คุณรู้ไหม....... ความจริงข้างใน ของการทำงานในโรงพยาบาล
“เจ้าหน้าที่พูดไม่เพราะ” “โรงพยาบาลรัฐดูแลไม่ดี” กรทู้เหล่านี้เหมือนสิ่งที่บันทอนกำลังใจในการทำงานของคุณหมอ คุณพยาบาล เจ้าหน้าที่เหล่านั้น โดยที่ คนตั้งกระทู้ไม่รู้ตัว หรือคิดไม่ถึงด้วยซ้ำ จขก. ขอสรุปเองตามความคิดว่าอาจเกิดจากความคาดหวัง ที่ผู้รับบริการ ญาติของผู้รับบริการหวังจาก เจ้าหน้าที่ โดยบางที คุณอาจลืมคิดไปก็ได้ว่า ถ้าคุณเป็นเจ้าหน้าที่เหล่านั้น คุณจะทำเช่นไร
คุณรู้ไหม พยาบาลบางคนทำงาน แทบจะ 16 ชม. / วัน ติดต่อกัน 5 วัน /สัปดาห์
คุณรู้ไหม คุณหมอบางคน ทำงานตั้งแต่ เช้าวันนี้ถึงเช้าของอีกวัน
คุณรู้ไหม เจ้าหน้าที่บางคน อาจจะเพิ่งได้นั่งพักตอนที่คุณเดินเข้ามารับบริการ
บางคนคิดว่า ฉันไม่สบาย ป่วย ปวดหัวมาก ทำไมต้องมาถามโน่นนี่ การถามโน่นนี่ ของพยาบาล/เจ้าหน้าที่ คือการซักประวัติเพื่อหาสาเหตุของอาการที่แท้จริง เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา ถ้าไม่ถามก็อาจจะรักษาคุณไม่ถูก
บางคนคิดว่า ทำไมรอนานจัง ฉีดยาได้ไหม นอนรพ.เลยได้ไหม ขอน้ำเกลือหน่อย ที่รอนาน อาจะรอผล Lab ที่ส่งตรวจบางตรวจ /รพ. บางแห่งก็ไม่สามารถ ตรวจได้เลย ต้องส่งไปรพ.ที่ใหญ่กว่า ตามขนาดของรพ. นั้นๆ ไม่มีหมอ/ พยาบาลคนไหนจะปล่อยให้คนไข้เป็นอะไรไปต่อหน้าแน่นนอน
บางคนไม่สบายทั้งวันนอนอยู่บ้าน มาตรวจตอนเย็นเพื่อขอใบรับรองแพทย์ไปยืนที่ทำงาน คุณทราบไหม การที่คุณมาตรวจที่รพ. ตอนเย็น คุณจะต้องเข้าตรวจที่ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ในรพ.ที่ไม่มีการตรวจผู้ป่วยนอก นอกเวลาราชการ คนที่ตรวจคุณ ไม่มีสิทธิ์ออกใบรับรองแพทย์ ไม่มีสิทธิ์สั่งฉีดยา เพราะจะเป็นพยาบาลวิชาชีพในการตรวจรักษาคุณ และแพทย์เวรนอกเวลาในรพ. ต่างจังหวัดขนาดเล็ก จะมีแพทย์เวรเพียง 1 ท่านเท่านั้นในการดูแลผู้ป่วยทั้ง ผู้ทั้งรพ. เมื่อคุณไม่ได้ตามที่ต้องการก็บ่น ร้องเรียน ต่อว่ารพ. และคุณรู้ไหมว่าเวลาคุณมาตรวจนอกเวลาราชการนั้น ถ้ามีอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน /คนไข้ที่ฉุกเฉินกว่าคุณต้องรอ คุณอาจจะคิดว่าฉันก็ไม่ไหว แต่คนที่อยู่ในห้องอาจจะแทบหยุดหายใจ จนคุณหมอต้องใส่เครื่องช่วยหายใจก็ได้
คุณรู้ไหม เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน – อุบัติเหตุ ใกล้กับรพ. เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องวิ่ง เตรียมอุปกรณ์เพื่อไปช่วยเหลือคนเจ็บอย่างเร่งด่วน ณ ที่เกิดเหตุ ซึ้งเจ้าหน้าที่พยาบาลเหล่านั้นอาจจะเพิ่งได้ทานข้าง หลังจากที่เหนื่อยมาทั้งวัน ก็ต้องทิ้งทุกอยางที่ทำและวิ่งเพื่อไปช่วยเหลือ ให้เร็วที่สุด
คุณรู้ไหม พยาบาลบางคนเมื่อลงเวรไปแล้ว ต้องโดนเรียกมาช่วยหาก อัตรากำลังไม่พอในการช่วยเหลือผู้ป่วย /ในการส่งต่อผู้ป่วยไปรพ.ที่มีความสามารถเพียงพอผู้ป่วยมากกว่ารพ. ขนาดเล็ก
การที่เขียนกระทูนี้ขึ้นมาไม่ได้อยากจะต่อว่า ใคร แต่อยากให้ทุกคนมองในมุมกลับกัน ว่า ถ้าเราทำงานเป็นเจ้าหน้าที่/หมอพยาบาลเหล่านั้น เราจะทำเช่นไร รพ. พยาบาลทุกรพ. จะจำนวนเจ้าหน้าที่ ตามกรอบที่กระทรวงกำหนด อยากให้ทุกคนลองมองให้เห็นใจ เจ้าหน้าที่ พยาบาล คุณหมอด้วย ว่า พวกเค้าเหล่านี้ทำงานหนักแค่ไหน
ถ้าไม่ให้กำลังใจก็อย่าต่อว่ากันเลย