เรื่องที่ 1 (ข้อสอบวินิจฉัย)
ดูว่าเข้าเกณฑ์หรือไม่อย่างไร การจำคุกก่อนเข้าทำงานมีผลหรือไม่อย่างไร)
119 นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งเลิกจ้างในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้
(5) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวัน หยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
เรื่องที่ 2 (ข้อสอบวินิจฉัย)
- พิจารณาว่าเป็นลูกจ้างหรือไม่ (มีการตอกบัตรลงเวลาเริ่มงานและเลิกงาน ต้องยื่นใบลาเมื่อหยุดงาน ต้องทำหน้าที่ตามที่หัวหน้ากำหนดหรือไม่ถ้าใช่ ถือว่าปฏิบัติตามคำสั่งและระเบียบและอยู่ในอำนาจบังคับบัญชา ของนายจ้าง
- ถือว่ามีการเริ่มงานแล้วหรือไม่กรณีลูกจ้างยังไม่เข้าที่ทำงาน อาจารย์เคยยกตัวอย่างแล้วเช่นแม่บ้านไปซื้อของเพื่อเตรียมรับรองแขก และถูกรถชนถึงแก่ความตาย
- พระราชบัญญัติติเงินทดแทน มาตรา 5 "ประสบอันตราย" หมายความว่า การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กาย หรือผลกระทบแก่จิตใจ หรือถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษา ประโยชน์ให้แก่นายจ้าง หรือตามคำสั่งของนายจ้าง
- พระราชบัญญัติติเงินทดแทน มาตรา 20 “เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจนถึงแก่ความตาย หรือสูญหาย ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนจากนายจ้าง
(1) บิดามารดา
เรื่องที่ 3 (ข้อสอบวินิจฉัย)
- ลูกจ้างทดลองงานมีฐานะเป็นลูกจ้างที่ได้รับการคุ้มครองตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 หรือไม่
- พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 123 “ในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาดมีผลใช้บังคับห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือกรรมการ หรืออนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเว้นแต่บุคคลดังกล่าว
(4) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร”
(ดูว่ามีเหตุผลอันสมควรหรือไม่อย่างไร)
มาตรา 52 ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง ลดค่าจ้าง ลงโทษ ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่
ของกรรมการลูกจ้าง หรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้กรรมการลูกจ้างไม่สามารถทำงาน
อยู่ต่อไปได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลแรงงาน”
(ลูกจ้างเป็นกรรมการลูกจ้าง ถ้าจะเลิกจ้างต้องขออนุญาตจากศาลแรงงาน)
เรื่องที่ 4. (วัด ความจำ) จงอธิบายประโยชน์ทดแทนกรณีเจ็บป่วย หรือประสบอันตราย ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
(อธิบายหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินทดแทน)
กฎหมายแรงงาน แนวข้อสอบผม อ่านไม่เข้าใจเลยมีใครช่วยได้บ้างไหมน่า
ดูว่าเข้าเกณฑ์หรือไม่อย่างไร การจำคุกก่อนเข้าทำงานมีผลหรือไม่อย่างไร)
119 นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งเลิกจ้างในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้
(5) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวัน หยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
เรื่องที่ 2 (ข้อสอบวินิจฉัย)
- พิจารณาว่าเป็นลูกจ้างหรือไม่ (มีการตอกบัตรลงเวลาเริ่มงานและเลิกงาน ต้องยื่นใบลาเมื่อหยุดงาน ต้องทำหน้าที่ตามที่หัวหน้ากำหนดหรือไม่ถ้าใช่ ถือว่าปฏิบัติตามคำสั่งและระเบียบและอยู่ในอำนาจบังคับบัญชา ของนายจ้าง
- ถือว่ามีการเริ่มงานแล้วหรือไม่กรณีลูกจ้างยังไม่เข้าที่ทำงาน อาจารย์เคยยกตัวอย่างแล้วเช่นแม่บ้านไปซื้อของเพื่อเตรียมรับรองแขก และถูกรถชนถึงแก่ความตาย
- พระราชบัญญัติติเงินทดแทน มาตรา 5 "ประสบอันตราย" หมายความว่า การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กาย หรือผลกระทบแก่จิตใจ หรือถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานหรือป้องกันรักษา ประโยชน์ให้แก่นายจ้าง หรือตามคำสั่งของนายจ้าง
- พระราชบัญญัติติเงินทดแทน มาตรา 20 “เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจนถึงแก่ความตาย หรือสูญหาย ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนจากนายจ้าง
(1) บิดามารดา
เรื่องที่ 3 (ข้อสอบวินิจฉัย)
- ลูกจ้างทดลองงานมีฐานะเป็นลูกจ้างที่ได้รับการคุ้มครองตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 หรือไม่
- พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 123 “ในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาดมีผลใช้บังคับห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือกรรมการ หรืออนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเว้นแต่บุคคลดังกล่าว
(4) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร”
(ดูว่ามีเหตุผลอันสมควรหรือไม่อย่างไร)
มาตรา 52 ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง ลดค่าจ้าง ลงโทษ ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่
ของกรรมการลูกจ้าง หรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้กรรมการลูกจ้างไม่สามารถทำงาน
อยู่ต่อไปได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลแรงงาน”
(ลูกจ้างเป็นกรรมการลูกจ้าง ถ้าจะเลิกจ้างต้องขออนุญาตจากศาลแรงงาน)
เรื่องที่ 4. (วัด ความจำ) จงอธิบายประโยชน์ทดแทนกรณีเจ็บป่วย หรือประสบอันตราย ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
(อธิบายหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินทดแทน)