คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ผู้บรรลุ ๒ พวก
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=21062
ตามนัยแห่งอรรถกถา
ตามนัยแห่งอรรถกถา ท่านได้กล่าวไว้เป็น ๒ พวกด้วยกัน คือ
ผู้ที่บำเพ็ญเพียรวิปัสสนา ถ้ได้ฌานมาแล้วเอาฌานนั้นแหละเป็นบาทเรียกว่า สมถยานิก และผู้บำเพ็ญไม่ได้ฌานมาก่อน เริ่มวิปัสสนาที่เดียวเรียกว่า วิปัสสนายานิก ในสองอย่างนั้น นัยแรก ออกจากฌานแล้ว กำหนดองค์ฌาน ๕ พร้อมทั้งสัมปยุตธรรมที่เกิดพร้อมกับองค์ฌานนั้น แล้วใคร่ครวญพิจารณาดูว่าธรรมเหล่านี้เป็นนามธรรม เพราะน้อมไป จากนั้นก็พิจารณาที่อาศัยของนามธรรม เห็นว่าหทัยรูปเป็นที่อาศัยของธรรม มหาภูตรูป และ อุปาทายรูป เป็นรูปธรรม เพราะเป็นของchipหายไปด้วยสิ่งที่เป็นข้าศึกมีความร้อน และเย็นเป็นต้น นี้เรียกว่า สมถยานิก
สำหรับผู้ที่เป็นวิปัสสนายานิก เมื่อเจริญวิปัสสนาก็กำหนดนามธรรมทั้งหลาย มีขันธ์ ๕ เป็นต้น หรือรูปนาม ทั้งนี้เพราะนามและรูปนี้ อาศัยกันและกันท่องเที่ยวไปในสงสารสาครเหมือนมนุษย์กับเรือ ต่างก็อาศัยกันแล่นไปในมหาสมุทร ฉะนั้น อย่างนี้เป็นต้นปราศจากอัตตา ไม่เป็นคน เป็นสัตว์ ซึ่งจัดเป็นตัววิปัสสนาที่หนึ่ง เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ เป็นต้น เรียกว่า วิปัสสนายานิก
ฌานลาภีบุคคลเจริญวิปัสสนา ๒ อย่าง
คำว่า ฌาน ก็มักจะนึกถึงรูป รูปาวจรจิต แท้จริงคำว่า ฌาน แปลว่า การเพ่งอารมณ์ และการเพ่งอารมณ์ก็มี ๒ ประการ ในนัยแห่งอัฏฐสาลินี อรรถกถา แสดงว่า
ฌานนฺติ ทุวิธํ อารมฺมณูปนิชฺฌานํ ลกฺขณูปนิชฺฌานนฺติ = คำว่า ฌาน นั้นมี ๒ อย่างคือ อารัมมณูปนิชฌาน อย่างหนึ่ง ลักขณูปนิชฌาน อีกอย่างหนึ่ง
ตตฺถ อฏฺฐ สมาปตฺติโย ปฐวีกสิณาทิอารมฺมณํ อุปนิชฺฌานยนฺตีติ อารมฺมณูปนิชฺฌานนฺติ สงฺขยํ คตา = ในฌาน ๒ อย่างนั้น สมาบัติ ๘ จัดเข้าในอารัมมณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปเพ่งอารมณ์ มีปฐวีกสิณ เป็นต้น
วิปสฺสนามคฺคผลานิ ปน ลกฺขณูปนิชฺฌานํ นาม = แต่ว่าวิปัสสนาญาณ มัคคญาณ ผลญาณทั้ง ๓ นี้ ชื่อว่าลักขณูปนิชฌาน
ตตฺถ วิปสฺสนา อนิจฺจาทิลกฺขณสฺส อุปนิชฺฌานโต ลกฺขณูปนิชฺฌานํ = ในญาณทั้ง ๓ นั้น วิปัสสนาญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปกำหนดรู้แจ้งไตรลักษณ์ มีอนิจจลักษณะ เป็นต้น
วิปสฺสนาย กตกิจฺจสฺส มคฺเคน อิชฺฌนโต มคฺโค ลกฺขณูปนิชฺฌานํ = มัคคญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชญาณ เพราะเป็นผู้ทำให้กิจที่รู้แจ้งไตรลักษณ์ของวิปัสสนาญาณ สำเร็จลง
ผลํ ปน นิโรธสจฺจํ ตถลกฺขณํ อุปนิชฺฌายตีติ ลกฺขณูปนิชฺฌานํ นาม = ส่วนผลญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปรู้แจ้งลักษณะอันแท้จริงของนิโรธสัจจะ
ความแตกต่างกันระหว่างฌานทั้ง ๒
กล่าวโดยอารมณ์ อารัมมณูปนิชฌาน มีสมถกัมมัฏฐาน เช่น ปฐวีกสิณซึ่งเป็นบัญญัติเป็นต้น เป็นอารมณ์ ส่วนลักขณูปนิชฌาน นั้น คือวิปัสสนาญาณ มีรูปนาม ไตรลักษณ์ สังขตธรรม เป็นอารมณ์ มัคคญาณ ผลญาณ มีอสังขตธรรม คือนิพพานเป็นอารมณ์
กล่าวโดยองค์ธรรม อารัมมณูปนิชฌาน มีวิตก วิจาร ปีติ เวทนา เอกัคคตา และที่ประกอบกับมหัคคคตฌานทั้ง ๙ เป็นองค์ธรรม ( รูปฌาน ๕ + อรูปฌาน ๔ ) ส่วนลักขณูปนิชฌาน ก็มีวิตก วิจาร ปีติ เวทนา เอกัคคตา ที่ประกอบกับมหากุศลจิต มัคคจิต ผลจิต เป็นองค์ธรรม
ผู้บรรลุ ๒ พวก
ผู้บรรลุมรรค ผล นิพพาน นั้นมีอยู่ ๒ จำพวกด้วยกัน คือ สุกขวิปัสสกจำพวกหนึ่ง และฌานลาภีบุคคลอีกจำพวกหนึ่ง
สุกขวิปัสสกบุคคล นั้นเป็นผู้บำเพ็ญวิปัสสนาญาณ จนบรรลุเป็นพระอริยบุคคล ไม่ได้บำเพ็ญสมาธิจนบรรลุฌานมาก่อน
ฌานลาภีบุคคล นั้นเป็นผู้บำเพ็ญสมถภาวนาจนได้ฌาน แล้วเจริญวิปัสสนาภาวนาบรรลุเป็นพระอริยบุคคล ก็ฌานลาภีบุคคล
!
!
!
อนึ่ง สุกขวิปัสสกบุคคล ผู้ไม่ได้ฌานเจริญวิปัสสนาภาวนากำหนดพิจารณารูปนามที่เป็นกามธรรมเพียงอย่างเดียว เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นก็ย่อมบริบูรณ์พร้อมด้วยองค์ฌานทั้ง ๕ จัดว่าเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมัคคจิต สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ของสุกขวิปัสสกบุคคล ก็จัดเข้าเป็นปฐมฌานด้วยกันทั้งสิ้นตามที่อัฏฐสาลินีอรรถกถา แสดงไว้ว่า
วิปสฺสนานิยาเมน สุกฺขวิปสฺสกสฺส อุปฺปนฺนมคฺโคปิ ปฐมชฺฌานิโก โหติ แปลว่า ว่าโดยวิปัสสนานิยาม แม้มรรคที่เกิดขึ้นแล้วแก่ผู้เจริญ วิปัสสนาล้วนๆ ก็ย่อมประกอบด้วยองค์ปฐมฌาน
พระอริยะสุกขวิปัสสกบุคคล เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัญญาวิมุตติ พระอริยะนี้มีมากกว่าพระอริยะที่เป็นฌานลาภีบุคคล ก็ฌานลาภีบุคคลนี้สำเร็จเป็นพระอริยะแล้ว
....................................................
การเจริญสติปัฏฐาน
http://ppantip.com/topic/32588015/comment9
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=21062
ตามนัยแห่งอรรถกถา
ตามนัยแห่งอรรถกถา ท่านได้กล่าวไว้เป็น ๒ พวกด้วยกัน คือ
ผู้ที่บำเพ็ญเพียรวิปัสสนา ถ้ได้ฌานมาแล้วเอาฌานนั้นแหละเป็นบาทเรียกว่า สมถยานิก และผู้บำเพ็ญไม่ได้ฌานมาก่อน เริ่มวิปัสสนาที่เดียวเรียกว่า วิปัสสนายานิก ในสองอย่างนั้น นัยแรก ออกจากฌานแล้ว กำหนดองค์ฌาน ๕ พร้อมทั้งสัมปยุตธรรมที่เกิดพร้อมกับองค์ฌานนั้น แล้วใคร่ครวญพิจารณาดูว่าธรรมเหล่านี้เป็นนามธรรม เพราะน้อมไป จากนั้นก็พิจารณาที่อาศัยของนามธรรม เห็นว่าหทัยรูปเป็นที่อาศัยของธรรม มหาภูตรูป และ อุปาทายรูป เป็นรูปธรรม เพราะเป็นของchipหายไปด้วยสิ่งที่เป็นข้าศึกมีความร้อน และเย็นเป็นต้น นี้เรียกว่า สมถยานิก
สำหรับผู้ที่เป็นวิปัสสนายานิก เมื่อเจริญวิปัสสนาก็กำหนดนามธรรมทั้งหลาย มีขันธ์ ๕ เป็นต้น หรือรูปนาม ทั้งนี้เพราะนามและรูปนี้ อาศัยกันและกันท่องเที่ยวไปในสงสารสาครเหมือนมนุษย์กับเรือ ต่างก็อาศัยกันแล่นไปในมหาสมุทร ฉะนั้น อย่างนี้เป็นต้นปราศจากอัตตา ไม่เป็นคน เป็นสัตว์ ซึ่งจัดเป็นตัววิปัสสนาที่หนึ่ง เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ เป็นต้น เรียกว่า วิปัสสนายานิก
ฌานลาภีบุคคลเจริญวิปัสสนา ๒ อย่าง
คำว่า ฌาน ก็มักจะนึกถึงรูป รูปาวจรจิต แท้จริงคำว่า ฌาน แปลว่า การเพ่งอารมณ์ และการเพ่งอารมณ์ก็มี ๒ ประการ ในนัยแห่งอัฏฐสาลินี อรรถกถา แสดงว่า
ฌานนฺติ ทุวิธํ อารมฺมณูปนิชฺฌานํ ลกฺขณูปนิชฺฌานนฺติ = คำว่า ฌาน นั้นมี ๒ อย่างคือ อารัมมณูปนิชฌาน อย่างหนึ่ง ลักขณูปนิชฌาน อีกอย่างหนึ่ง
ตตฺถ อฏฺฐ สมาปตฺติโย ปฐวีกสิณาทิอารมฺมณํ อุปนิชฺฌานยนฺตีติ อารมฺมณูปนิชฺฌานนฺติ สงฺขยํ คตา = ในฌาน ๒ อย่างนั้น สมาบัติ ๘ จัดเข้าในอารัมมณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปเพ่งอารมณ์ มีปฐวีกสิณ เป็นต้น
วิปสฺสนามคฺคผลานิ ปน ลกฺขณูปนิชฺฌานํ นาม = แต่ว่าวิปัสสนาญาณ มัคคญาณ ผลญาณทั้ง ๓ นี้ ชื่อว่าลักขณูปนิชฌาน
ตตฺถ วิปสฺสนา อนิจฺจาทิลกฺขณสฺส อุปนิชฺฌานโต ลกฺขณูปนิชฺฌานํ = ในญาณทั้ง ๓ นั้น วิปัสสนาญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปกำหนดรู้แจ้งไตรลักษณ์ มีอนิจจลักษณะ เป็นต้น
วิปสฺสนาย กตกิจฺจสฺส มคฺเคน อิชฺฌนโต มคฺโค ลกฺขณูปนิชฺฌานํ = มัคคญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชญาณ เพราะเป็นผู้ทำให้กิจที่รู้แจ้งไตรลักษณ์ของวิปัสสนาญาณ สำเร็จลง
ผลํ ปน นิโรธสจฺจํ ตถลกฺขณํ อุปนิชฺฌายตีติ ลกฺขณูปนิชฺฌานํ นาม = ส่วนผลญาณ ได้ชื่อว่า ลักขณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปรู้แจ้งลักษณะอันแท้จริงของนิโรธสัจจะ
ความแตกต่างกันระหว่างฌานทั้ง ๒
กล่าวโดยอารมณ์ อารัมมณูปนิชฌาน มีสมถกัมมัฏฐาน เช่น ปฐวีกสิณซึ่งเป็นบัญญัติเป็นต้น เป็นอารมณ์ ส่วนลักขณูปนิชฌาน นั้น คือวิปัสสนาญาณ มีรูปนาม ไตรลักษณ์ สังขตธรรม เป็นอารมณ์ มัคคญาณ ผลญาณ มีอสังขตธรรม คือนิพพานเป็นอารมณ์
กล่าวโดยองค์ธรรม อารัมมณูปนิชฌาน มีวิตก วิจาร ปีติ เวทนา เอกัคคตา และที่ประกอบกับมหัคคคตฌานทั้ง ๙ เป็นองค์ธรรม ( รูปฌาน ๕ + อรูปฌาน ๔ ) ส่วนลักขณูปนิชฌาน ก็มีวิตก วิจาร ปีติ เวทนา เอกัคคตา ที่ประกอบกับมหากุศลจิต มัคคจิต ผลจิต เป็นองค์ธรรม
ผู้บรรลุ ๒ พวก
ผู้บรรลุมรรค ผล นิพพาน นั้นมีอยู่ ๒ จำพวกด้วยกัน คือ สุกขวิปัสสกจำพวกหนึ่ง และฌานลาภีบุคคลอีกจำพวกหนึ่ง
สุกขวิปัสสกบุคคล นั้นเป็นผู้บำเพ็ญวิปัสสนาญาณ จนบรรลุเป็นพระอริยบุคคล ไม่ได้บำเพ็ญสมาธิจนบรรลุฌานมาก่อน
ฌานลาภีบุคคล นั้นเป็นผู้บำเพ็ญสมถภาวนาจนได้ฌาน แล้วเจริญวิปัสสนาภาวนาบรรลุเป็นพระอริยบุคคล ก็ฌานลาภีบุคคล
!
!
!
อนึ่ง สุกขวิปัสสกบุคคล ผู้ไม่ได้ฌานเจริญวิปัสสนาภาวนากำหนดพิจารณารูปนามที่เป็นกามธรรมเพียงอย่างเดียว เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นก็ย่อมบริบูรณ์พร้อมด้วยองค์ฌานทั้ง ๕ จัดว่าเป็นปฐมฌานโสดาปัตติมัคคจิต สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ของสุกขวิปัสสกบุคคล ก็จัดเข้าเป็นปฐมฌานด้วยกันทั้งสิ้นตามที่อัฏฐสาลินีอรรถกถา แสดงไว้ว่า
วิปสฺสนานิยาเมน สุกฺขวิปสฺสกสฺส อุปฺปนฺนมคฺโคปิ ปฐมชฺฌานิโก โหติ แปลว่า ว่าโดยวิปัสสนานิยาม แม้มรรคที่เกิดขึ้นแล้วแก่ผู้เจริญ วิปัสสนาล้วนๆ ก็ย่อมประกอบด้วยองค์ปฐมฌาน
พระอริยะสุกขวิปัสสกบุคคล เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัญญาวิมุตติ พระอริยะนี้มีมากกว่าพระอริยะที่เป็นฌานลาภีบุคคล ก็ฌานลาภีบุคคลนี้สำเร็จเป็นพระอริยะแล้ว
....................................................
การเจริญสติปัฏฐาน
http://ppantip.com/topic/32588015/comment9
แสดงความคิดเห็น
ถามนิยามศัพท์ของคำว่า "สุกขวิปัสสก"
๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (กุยรัมย์) ได้กล่าวไว้ในหนังสือเรื่อง จิตปรมัตถ์ว่า “สุกขวิปัสสก หมายถึง เป็นผู้ที่บรรลุเป็นพระอรหันต์โดยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว ไม่ได้เจริญสมถกรรมฐานให้เกิดฌาน หรือเป็นผู้ที่ไม่มีฌานอภิญญาเกิดขึ้นมาพร้อมกับมรรค แปลว่า ผู้แห้งแล้งด้วยคุณวิเศษที่เป็นโลกียธรรม”
๒) พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) กล่าวถึงความหมายของพระอรหันต์สุกขวิปัสสกะไว้ในหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความว่า “พระอรหันต์สุกขวิปัสสกะ ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน ได้สมาธิถึงระดับฌานต่อเมื่อถึงขณะแห่งมรรค”
ท่านใดพอจะทราบว่ามีผู้ใดได้เทศนาเอาไว้ หรือมีเขียนให้ความหมายเอาไว้เพิ่มเติมจากที่ผมนำมาลง รบกวนให้ข้อมูลกับผมด้วยครับ จะเป็นภาษาไทยหรือต่างประเทศก็ได้
ขอบคุณล่วงหน้าครับ