ข้อเสนอปฏิรูประบบราชการทั้งระบบ แก้ปัญหาทุจริต คอรัปชั่น
ตั้งเป้าหมายบรรลุผล ภายในห้าปี
1. ลดปริมาณ เน้นคุณภาพ เป็นราชการที่ใช้กำลังพลน้อยแต่มีความคล่องตัวสูง (ลดให้ได้ 25%จากข้าราชการทั้งหมดในประเทศ)
2. ตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพข้าราชการ
3. ตั้งคณะทำงานฯเพื่อตรวจสอบยกระดับ คุณภาพ มาตรฐาน ข้าราชการ
4. เพิ่มเงินเดือนข้าราชการอีกยี่สิบ-สามสิบเปอร์เซนต์ โดยทยอยดำเนินการในหน่วยงานที่ผ่านมาตรฐาน
ใช้เงินที่ได้จากการลดกำลังพล
5. เพิ่มความเข้มข้นในบทลงโทษข้าราชการที่ทำผิด ทุจริต คอรัปชั่น
6. มาตรการช่วยเหลือเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำให้ข้าราชการ เพื่อแก้ปัญหาการเงิน
7. กำหนดมาตรฐานจริยธรรม ระดับสูงสำหรับข้าราชการ
รวมทั้งการรักษาวินัยการเงิน การใช้จ่ายที่ไม่ฟุ้งเฟ้อเกินวิสัยราชการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการทุจริตในหน้าที่
8. ประเมินผลข้าราชการแบ่งกลุ่ม เกรด ของข้าราชการออกเป็น 4 กลุ่มๆละ 25% คือผู้ผ่านเกณฑ์มีประสิทธิภาพการทำงานสูง ผู้ผ่านเกณฑ์ระดับกลางน่าพอใจ ผู้ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์แต่มีแนวโน้มและความตั้งใจปรับปรุงตน กลุ่มสุดท้ายคือผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ไร้ประสิทธิภาพ
กลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์กลุ่มสุดท้ายให้พิจารณาออกจากราชการโดยให้การช่วยเหลือเป็นเงินทุนดำเนินชีวิตอาชีพอื่นต่อไป (ระยะเวลาในการประเมินภายในห้าปี)
9. ดำเนินการคัดเลือกผู้สมัครรับราชการ โดยกำหนดมาตรฐานระดับสูง แทนกลุ่มผู้ไม่ผ่านเกณฑ์และไร้ประสิทธิภาพ และ ทดแทนผู้เกษียน
(ผู้ที่รับราชการจะต้องผ่านการทดลองงานที่มาตรฐานสูง)
หมายเหตุ: หลักเกณฑ์การประเมินมาตรฐานต้องให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ได้แก่ประชาชนผู้ใช้บริการ ข้าราชการผู้ถูกประเมิน กพ.
สถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัยที่ได้รับการยอมรับฯลฯ เป็นต้น
ข้อเสนอปฏิรูประบบราชการทั้งระบบ แก้ปัญหาทุจริต คอรัปชั่น
ตั้งเป้าหมายบรรลุผล ภายในห้าปี
1. ลดปริมาณ เน้นคุณภาพ เป็นราชการที่ใช้กำลังพลน้อยแต่มีความคล่องตัวสูง (ลดให้ได้ 25%จากข้าราชการทั้งหมดในประเทศ)
2. ตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพข้าราชการ
3. ตั้งคณะทำงานฯเพื่อตรวจสอบยกระดับ คุณภาพ มาตรฐาน ข้าราชการ
4. เพิ่มเงินเดือนข้าราชการอีกยี่สิบ-สามสิบเปอร์เซนต์ โดยทยอยดำเนินการในหน่วยงานที่ผ่านมาตรฐาน
ใช้เงินที่ได้จากการลดกำลังพล
5. เพิ่มความเข้มข้นในบทลงโทษข้าราชการที่ทำผิด ทุจริต คอรัปชั่น
6. มาตรการช่วยเหลือเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำให้ข้าราชการ เพื่อแก้ปัญหาการเงิน
7. กำหนดมาตรฐานจริยธรรม ระดับสูงสำหรับข้าราชการ
รวมทั้งการรักษาวินัยการเงิน การใช้จ่ายที่ไม่ฟุ้งเฟ้อเกินวิสัยราชการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการทุจริตในหน้าที่
8. ประเมินผลข้าราชการแบ่งกลุ่ม เกรด ของข้าราชการออกเป็น 4 กลุ่มๆละ 25% คือผู้ผ่านเกณฑ์มีประสิทธิภาพการทำงานสูง ผู้ผ่านเกณฑ์ระดับกลางน่าพอใจ ผู้ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์แต่มีแนวโน้มและความตั้งใจปรับปรุงตน กลุ่มสุดท้ายคือผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ไร้ประสิทธิภาพ
กลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์กลุ่มสุดท้ายให้พิจารณาออกจากราชการโดยให้การช่วยเหลือเป็นเงินทุนดำเนินชีวิตอาชีพอื่นต่อไป (ระยะเวลาในการประเมินภายในห้าปี)
9. ดำเนินการคัดเลือกผู้สมัครรับราชการ โดยกำหนดมาตรฐานระดับสูง แทนกลุ่มผู้ไม่ผ่านเกณฑ์และไร้ประสิทธิภาพ และ ทดแทนผู้เกษียน
(ผู้ที่รับราชการจะต้องผ่านการทดลองงานที่มาตรฐานสูง)
หมายเหตุ: หลักเกณฑ์การประเมินมาตรฐานต้องให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ได้แก่ประชาชนผู้ใช้บริการ ข้าราชการผู้ถูกประเมิน กพ.
สถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัยที่ได้รับการยอมรับฯลฯ เป็นต้น