คำแถลงการณ์ร่วม
ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2551 (รัฐบาลสมัคร)
ผมเอามาข้อเดียวก่อน
4. ในระหว่างที่ยังไม่มีผลของการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (JBC) ในพื้นที่รอบตัวปราสาทพระวิหารทางทิศตะวันตกและทาง
ทิศเหนือดังปรากฏตาม N.3 ในแผนที่ที่ระบุในย่อหน้าที่ 1 ข้างต้น
แผนบริหารจัดการในพื้นที่ดังกล่าวจะได้รับการจัดทำขึ้นร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของกัมพูชาและของไทย โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระดับสากล เพื่อรักษาคุณค่าอันเป็นสากลที่โดดเด่นของปราสาท ทั้งนี้ ให้บรรจุแผนการบริหารจัดการดังกล่าวไว้ในแผนบริหารจัดการฉบับสุดท้ายสำหรับตัวปราสาทและพื้นที่รอบๆ ตัวปราสาท ซึ่งจะต้องเสนอต่อศูนย์มรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 สำหรับการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลกในสมัยที่ 34 ในปี 2553
ชัดเจนนะครับ ว่าถ้าเอกสารข้อตกลงดังกล่าวยังถูกใช้ปฏิบัติ
โอกาสที่จะมีการเปิดทางเข้าทางฝั่งไทย มีมากกว่า90% แน่ๆ
แล้วถ้าไทยขอขึ้นทะเบียน สตระตราว บันได สถูปคู่และภาพนูนต่ำผามออีแดง ที่อยู่ในฝั่งไทยเป็นมรดกโลกต่อตามมาได้สำเร็จ
แน่นอนว่าจะทำให้นักท่องเที่ยวมากขึ้นแน่ๆ เพราะไปที่เดียว ก็ได้ชมมรดกโลกพร้อมกัน ทั้งของไทยและกัมพูชา
เมื่อการท่องเที่ยวดี ชาวบ้านในแถบนั้นก็คงไม่ต้องลำบากเหมือนทุกวันนี้
กระทู้และแหล่งข่าวที่เกี่ยวข้อง
http://ppantip.com/topic/31229919
https://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=2328&grpid=00
http://topicstock.ppantip.com/rajdumnern/topicstock/2008/07/P6827568/P6827568.html
เขมรไม่เปิดทางเข้าพระวิหารทางฝั่งไทย ก็เพราะการโมฆะของเอกสารคำแถลงร่วม ของ รมว. นพดล ในรัฐบาลสมัคร (ถูกพวกคนดีป่วน)
คำแถลงการณ์ร่วม
ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2551 (รัฐบาลสมัคร)
ผมเอามาข้อเดียวก่อน
4. ในระหว่างที่ยังไม่มีผลของการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (JBC) ในพื้นที่รอบตัวปราสาทพระวิหารทางทิศตะวันตกและทางทิศเหนือดังปรากฏตาม N.3 ในแผนที่ที่ระบุในย่อหน้าที่ 1 ข้างต้น แผนบริหารจัดการในพื้นที่ดังกล่าวจะได้รับการจัดทำขึ้นร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของกัมพูชาและของไทย โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระดับสากล เพื่อรักษาคุณค่าอันเป็นสากลที่โดดเด่นของปราสาท ทั้งนี้ ให้บรรจุแผนการบริหารจัดการดังกล่าวไว้ในแผนบริหารจัดการฉบับสุดท้ายสำหรับตัวปราสาทและพื้นที่รอบๆ ตัวปราสาท ซึ่งจะต้องเสนอต่อศูนย์มรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 สำหรับการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลกในสมัยที่ 34 ในปี 2553
ชัดเจนนะครับ ว่าถ้าเอกสารข้อตกลงดังกล่าวยังถูกใช้ปฏิบัติ
โอกาสที่จะมีการเปิดทางเข้าทางฝั่งไทย มีมากกว่า90% แน่ๆ
แล้วถ้าไทยขอขึ้นทะเบียน สตระตราว บันได สถูปคู่และภาพนูนต่ำผามออีแดง ที่อยู่ในฝั่งไทยเป็นมรดกโลกต่อตามมาได้สำเร็จ
แน่นอนว่าจะทำให้นักท่องเที่ยวมากขึ้นแน่ๆ เพราะไปที่เดียว ก็ได้ชมมรดกโลกพร้อมกัน ทั้งของไทยและกัมพูชา
เมื่อการท่องเที่ยวดี ชาวบ้านในแถบนั้นก็คงไม่ต้องลำบากเหมือนทุกวันนี้
กระทู้และแหล่งข่าวที่เกี่ยวข้อง
http://ppantip.com/topic/31229919
https://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=2328&grpid=00
http://topicstock.ppantip.com/rajdumnern/topicstock/2008/07/P6827568/P6827568.html