จากกระทู้แนะนำ เมื่อมีคนถามหาข้อเปรียบเทียบระหว่างโครงการ 2.2 ล้านล้าน กับ 3.3 ล้านล้าน !!!

ไฟล์บรรยายของคุณชัชชาติ 157 หน้า ถ้าเป็นรายงานที่เสนอสภา หรือศาลณูญอาจจะเยอะกว่านี้หลายหน้าครับ
ลิ้งในสปอยเป็นรายละเอียดทั้งหมดนะครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

ร่าง พรบ. กู้เงิน 2.2 ล้านล้าน บาท
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

ของรัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์ข้อมูลอาจจะเยอะหน่อยเพราะมีการเตรียมการไว้หลายส่วน และจะเน้นระบบรางเป็นหลัก
ส่วนของรัฐบาลนายกทั่นตู่จะรวบรวมให้มากที่สุดนะแจ้ะ













ในส่วนนี้จะเป็นรายละเอียดระบบรางทั้งหมดครับ







ระหว่างการก่อสร้าง






โครงการระยะต่อไปหลังปี 2562 เพิ่มอีก 5 โครงการ



เสร็จสิ้นรถไฟฟ้า 10 เส้นทาง





******************************************************************************************************

ต่อไปเป็นรถไฟความเร็วสูงกับทางคู่ครับ ขอโทษที่รูปอาจจะเล็กไปหน่อย อมยิ้ม17อมยิ้ม17







รถไฟฟ้าความเร็วสูงของรัฐบาลนายกยิ่งลักษณ์ จะประมาณ 250 km./H หรือมากกว่านั้น











โครงการรถไฟรางคู่ครับ





โครงข่ายถนน






โครงข่ายถนนสายหลักภายในประเทศ : มอเตอร์เวย์




โครงสร้างคมนาคมพื้นฐานทางอากาศ





โครงสร้างคมนาคมพื้นฐานทางน้ำ













แต่ก็มีข้อโต้แย้งนะครับ แต่ส่วนใหญ่จะพูดในเรื่องรถไฟความเร็วสูง เช่น นักวิชาการเกียรติคุณทีดีอาร์ไอและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ วิเคราะห์ว่า บทเรียนจากการใช้เงิน 3 หมื่นกว่าล้าน สร้างแอร์พอร์ทลิ้งค์
ซึ่งทุกคนยอมรับว่าไม่คุ้ม หากรัฐบาลคิดอยากจะสร้างแต่ไม่ได้มองลึกลงไปว่าสร้างแล้วจะเกิดอะไรขึ้น จะเสี่ยงต่อการสูญเปล่าจากการลงทุน
ดังนั้นรัฐบาลต้องให้ความสําคัญกับการวางระบบ ไม่ใช่ลงทุนนําเข้าระบบรางเพียงอย่างเดียว การพัฒนาระบบให้ได้มาตรฐานสากลเป็นเรื่องสําคัญ ขณะเดียวกันการเชื่อมเพื่อใช้ตัวเดียวของไทยยังทําไม่ได้ ๋ เพราะไม่มีการวางระบบในภาพรวม ก่อนลงทุน ทําให้โครงการลงทุนถูกแยกเป็นเอกเทศการเจรจากับภาคเอกชนในภายหลัง ทําได้ลําบากไม่ได้มีการคิดก่อนว่าจะแบ่งรายได้กันอย่างไร
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

*******************************************************************************************************

ส่วนอันนี้เป็นของรัฐบาลนายกทั่นตู่นะครับ กรอบวงเงิน 3.3 ล้านล้านบาท (น่าจะนะ)


ใช้รางขนาดเดิม 1 เมตร 6 เส้นทางรวม 1.2 แสนล้าน พร้อมปรับแบบ 2 เส้นทาง
รองรับรถไฟทางคู่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าแทน"รถไฟความเร็วสูง" วงเงินกว่า 7.4 แสนล้านบาท เชื่อมรถไฟความเร็วสูงจีน
พร้อมสั่งเดินหน้ารถไฟฟ้ากทม.-ปริมณฑล 10 สาย ตามแผนเดิม

ปรับแผนสร้างรถไฟฟ้าแทน'ความเร็วสูง
นางสร้อยทิพย์ กล่าวว่า ทั้งสองโครงการนี้จะใช้งานรถไฟที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าและเป็นการรองรับการเชื่อมต่อกับเส้นทางรถไฟที่จะเชื่อมต่อกับสปป.ลาวและจีนในอนาคต
“โครงการเดินรถทางรางขนาด 1.435 เมตร จะเป็นการนำโครงการรถไฟความเร็วสูงที่ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ได้ศึกษาไว้มาศึกษาเพิ่มเติมในการปรับเปลี่ยนให้เป็นรถไฟทางคู่ระบบไฟฟ้าที่สามารถทำความเร็วสูงสุดได้ประมาณ 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งจะใช้งบประมาณน้อยกว่าและมีความคุ้มค่ามากกว่ารถไฟความเร็วสูงเพราะสามารถขนส่งได้ทั้งคนและสินค้า นอกจากนั้นหากในอนาคตประเทศไทยจะมีโครงการรถไฟความเร็วสูงในอนาคตก็สามารถใช้รางขนาด 1.435 ที่จะมีการสร้างใน 2 เส้นทางนี้ในการเดินรถได้ด้วย” นางสร้อยทิพย์กล่าว

คตร.อนุมัติจัดซื้อหัวรถจักร3พันล้าน
สำหรับการจัดซื้อรถจักรและตู้โดยสารใหม่เพื่อทดแทนของเก่าที่ใช้งานมานานขณะนี้กระทรวงคมนาคมได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการติดตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ (คตร.) ให้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงงบประมาณจากที่ขอใช้งบประมาณ 3,056 ล้านบาท
ในการซ่อมหัวรถจักรเก่าไปจัดซื้อหัวรถจักรใหม่ซึ่งจะสามารถจัดซื้อได้จำนวน 36 คัน ซึ่งอยู่ในระหว่างดำเนินการโดยจะทำควบคู่ไปกับการปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณไฟทั่วประเทศ

สำหรับการพัฒนาการเชื่อมโยงโครงข่ายการคมนาคมกับประตูการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดน เป็นการเชื่อมโยงเส้นทางเมืองหลัก กทม.และปริมณฑล เช่น โครงการพัฒนาท่าอากาศยานที่สำคัญ เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง
ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานอู่ตะเภาให้รองรับสายการบินพาณิชย์

นอกจากนั้นยังจะมีการเร่งปรับปรุงระบบถนนเชื่อมโยงประตูการค้าของประเทศ ในพื้นที่ที่มีความสำคัญกับการค้าชายแดน
และกำลังจะมีการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น ทางหลวง ตราด - หาดเล็ก,ตาก - แม่สอด,ถนนเลี่ยงเมืองอรัญประเทศ-สระแก้ว เป็นต้น
ขณะที่ระบบถนนเชื่อมเมืองหลักจะมีการเดินหน้าโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายพัทยา - มาบตาพุด
ซึ่งได้รับงบประมาณในการเวนคืนที่ดินในปีงบประมาณ 2557 - 2558
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

ล่าสุด โครงการมินิไฮสปีดเทรนความเร็ว 180 กม./ชม. เชื่อมการค้าจีนตอนใต้จาก "หนองคาย" ทะลุ "ปาดังเบซาร์" ระยะทาง 1,837 กม. นำร่อง 2 สาย "กทม.-โคราช และ กทม.-ระยอง" ปลุกเศรษฐกิจและท่องเที่ยวภาคอีสาน-ตะวันออก (ตามข่าวต่างๆ น่ะนะครับ) แต่ที่เพิ่มเติมคือ "ซื้อเครื่องบินให้การบินไทย"

**หาตามข่าวต่างๆ ที่มาลงไว้น่ะครับ อในกลางปีหน้าอาจมีความคืบหน้าเพิ่มเติมก็เป็นได้ เพราะว่าช่วงนี้กำลังอยู่แค่ช่วงผุดไอเดียน่ะครับ**
ปูลู. ที่ผมแปะไว้ทั้งหมดนี่คือ ความฝันนะครับ เพราะโครงการโดนล้มไปแล้ว
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่