อีกาสามขา เป็นนกประจำองค์ อะมะเตะระสุ เทพีแห่งดวงอาทิตย์ ในนิฮงโชะกิ อันเป็นพงศาวดารญี่ปุ่น ได้บันทึกว่า จักรพรรดิจิมมุ ซึ่งทรงเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เมื่อครั้งยังทรงเป็นนักรบธรรมดา เมื่อพระองค์รบแพ้ นะงะซุเนะฮิโกะ พระองค์ตระหนักว่าการที่พระองค์และพรรคพวกรบแพ้ เพราะเป็นการรบที่หันหน้าไปทางทิศตะวันออกซึ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ ดังนั้นแล้ว พระองค์จึงตัดสินใจย้ายมาอยู่ทางด้านตะวันออกของคาบสมุทรกิอิ เพื่อที่จะรบไปทางทิศตะวันตก ทั้งนี้เป็นการชี้นำโดย อีกาสามขา ชาวญี่ปุ่นจึงถือว่าอีกาสามขาเป็นนกศักดิ์สิทธิ์ ด้วยเป็นผู้ที่ทำให้ญี่ปุ่นได้สร้างชาติขึ้นมา จนถึงปัจจุบันนี้ อีกาสามขายังได้ปรากฏอยู้ในสัญลักษณ์หลายประการของญี่ปุ่น อาทิ ฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่น
ตำนานของนกสามขานั้นมีมาจากหลายตำนานทั้งศิลปะของเอเซีย เอเซียกลาง และแอฟริกาเหนือ ถือเป็นตัวแทนของดวงอาทิตย์
สัตว์ประหลาดสามขานี้ มีทั้งในตำนานของอียิปต์ปรากฎบนฝาผนัง บ้างก็พบบนเหรียญโบราณจากLycia และ Pamphylia ในเอเซียตะวันออกถือว่านกสามขานี้มีความเกี่ยวเนื่องกับดวงอาทิตย์
มาดูวิวัฒนาการโลโก้
จากนั้นก็ใช้โลโก้สมาคม
ของไทยล่ะ
โลโก้สมาคม
โลโก้สมัยก่อน
จากนั้นก็ใช้ธงชาติ
โลโก้ใหม่ยุคแรกๆ
ล่าสุด
เห็นมีกระแสการกลับคืนมาใช้ตราแบบเก่า แบบตราพระมหามงกุฎ
แล้วช้างผิดไหม
จากความเชื่อในพระพุทธศาสนา ช้างเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นมงคลแห่งการบำเพ็ญบารมีและความศักดิ์สิทธิ์ ดังปรากฏในชาดกเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ความเชื่อของคนไทยกับช้างเผือก เป็นช้างที่เกิดขึ้นเพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์ แต่อันที่จริงช้างเผือก หรือช้างสำคัญ มี 3 ชนิดดังกล่าว ถ้าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดมีช้างเผือกมาสู่พระบารมีจำนวนมาก ก็จะถือว่าเป็นมงคล บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข เมื่อสำนักพระราชวังตรวจคชลักษณ์ว่าเป็นช้างเผือกหรือช้างสำคัญแล้ว ก็จะนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยจะน้อมเกล้าฯ ถวายช้างสำคัญ และมีพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างสำคัญ พระมหากษัตริย์องค์ใดได้พบช้างเผือกเป็นจำนวนมาก แสดงว่า พระมหากษัตริย์พระองค์นั้นทรงถึงพร้อมด้วยบุญญาภินิหารบารมีมากและมักถวายพระนามพระองค์ว่า พระเจ้าช้างเผือก ดังเช่น สมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นต้น
ธงชาติสมัยก่อนก็มีช้างเผิอกเป็นสัญลักษณ์ของชาติ จะว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติ แบบกาสามขาของญี่ปุ่นก็ว่าได้
ฉันใด ก็ฉันนั้น
ถ้าโลโก้ กาสามขา ทีมญี่ปุ่นเป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติ
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81
ช้างเผือกเรา ก็เป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติเช่นกัน
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%B2
ความหมายโลโก้ทีมฟุตบอลไทยปัจจุบัน กับของญี่ปุ่น ความเหมือนที่แตกต่าง กับกระแสการเปลี่ยนแปลงกลับมาใช้ตราพระมหามงกุฏ
ตำนานของนกสามขานั้นมีมาจากหลายตำนานทั้งศิลปะของเอเซีย เอเซียกลาง และแอฟริกาเหนือ ถือเป็นตัวแทนของดวงอาทิตย์
สัตว์ประหลาดสามขานี้ มีทั้งในตำนานของอียิปต์ปรากฎบนฝาผนัง บ้างก็พบบนเหรียญโบราณจากLycia และ Pamphylia ในเอเซียตะวันออกถือว่านกสามขานี้มีความเกี่ยวเนื่องกับดวงอาทิตย์
มาดูวิวัฒนาการโลโก้
จากนั้นก็ใช้โลโก้สมาคม
ของไทยล่ะ
โลโก้สมาคม
โลโก้สมัยก่อน
จากนั้นก็ใช้ธงชาติ
โลโก้ใหม่ยุคแรกๆ
ล่าสุด
เห็นมีกระแสการกลับคืนมาใช้ตราแบบเก่า แบบตราพระมหามงกุฎ
แล้วช้างผิดไหม
จากความเชื่อในพระพุทธศาสนา ช้างเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นมงคลแห่งการบำเพ็ญบารมีและความศักดิ์สิทธิ์ ดังปรากฏในชาดกเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ความเชื่อของคนไทยกับช้างเผือก เป็นช้างที่เกิดขึ้นเพราะพระบารมีของพระมหากษัตริย์ แต่อันที่จริงช้างเผือก หรือช้างสำคัญ มี 3 ชนิดดังกล่าว ถ้าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดมีช้างเผือกมาสู่พระบารมีจำนวนมาก ก็จะถือว่าเป็นมงคล บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข เมื่อสำนักพระราชวังตรวจคชลักษณ์ว่าเป็นช้างเผือกหรือช้างสำคัญแล้ว ก็จะนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยจะน้อมเกล้าฯ ถวายช้างสำคัญ และมีพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างสำคัญ พระมหากษัตริย์องค์ใดได้พบช้างเผือกเป็นจำนวนมาก แสดงว่า พระมหากษัตริย์พระองค์นั้นทรงถึงพร้อมด้วยบุญญาภินิหารบารมีมากและมักถวายพระนามพระองค์ว่า พระเจ้าช้างเผือก ดังเช่น สมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นต้น
ธงชาติสมัยก่อนก็มีช้างเผิอกเป็นสัญลักษณ์ของชาติ จะว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติ แบบกาสามขาของญี่ปุ่นก็ว่าได้
ฉันใด ก็ฉันนั้น
ถ้าโลโก้ กาสามขา ทีมญี่ปุ่นเป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติ
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81
ช้างเผือกเรา ก็เป็นสัญลักษณ์ของการสร้างชาติเช่นกัน
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%B2