จากกระทู้ข้างล่าง เรื่องการขายหุ้นเพิ่มทุน loxley ให้กับ นักลงทุนทั่วไปที่ไม่ใช่ผู้ถือหุ้นเดิมผิดมั้ย
http://ppantip.com/topic/32623326
ต้องบอกว่าการขายหุ้นแบบpp หรือขายให้กับบุคคลเฉพาะที่ไม่ใช่ผู้ถือหุ้นเดิมทำได้
ซึ่งโดยมากมักอ้างว่าขายให้กับผู้ร่วมทุนที่จะเข้ามาเกื้อหนุนธุรกิจให้ประโยชน์กับบริษัท
แต่ระยะหลังมักจะอ้างว่า ถ้าขายให้ผู้ถือหุ้นเดิม (Right) อาจจะล่าช้าได้เงินไม่ทันการหรือขายได้ไม่ครบทั้งจำนวนบริษัทเลยไปตกลงหาคนมาร่วมทุนต่างหาก
มองตามเหตุผลที่กล่าวอ้างก้อฟังได้.
แต่มองว่าเป็นการเอาเปรียบผู้ถือหุ้นเดิมที่ถูกdilute ด้วยหุ้นเพิ่มทุนราคาถูกก้อได้เช่นกัน(เอาไปขายนอกตลาดให้กับคนที่ไม่ได้ถือหุ้นซึ่งอาจจะเป็นพวกเดียวกับผู้บริหารก้อได้)
กรณีอย่างนี้เกิดขึ้นบ่อยมากในระยะหลังตัวอย่างเช่นบริษัทTSF หรือ GEL ที่เพิงขายPP ราคา.55สตางค์ให้กับนักลงทุน5รายจำนวนถึง1800ล้านกว่าหุ้น หรือคิดเป็น50% ของหุ้นเดิมซึ่งถือว่าเยอะมาก แถมเปิดช่วงเวลาให้เลือกซื้อชำระค่าหุ้นได้นานหลายเดือนและทะยอยเข้าซื้อขายในตลาดได้เป็นระยะได้อีก
การกระทำลักษณะนี้มองในฐานะผู้ถือหุ้นเดิม ก้อจะคิดว่าถูกผู้บริหารเอาเปรียบได้
ดังนั้นเพื่อความโปร่งใสอยากเห็นตลาดมีนโยบายป้องกันการเอาเปรียบผู้ถือหุ้นในกรณีอย่างนี้
เช่นถ้าขายให้กับคนที่จะเกื้อหนุนธุรกิจจริงต้องมีหลักฐานแสดงให้เห็นได้ว่าจะมีประโยชน์อย่างไร
แต่ถ้าเป็นขายเพื่อระดมทุน เท่านั้นควรเปิดโอกาสให้กับผู้ถือหุ้นเดิมตัดสินใจก่อน
เช่นบริษัท A มีหุ้นเดิม พันล้านหุ้น
จะออกหุ้นเพิ่มทุนแบบ PP ให้นักลงทุน5 รายรายล่ะ100ล้านหุ้น. ในราคาต่ำกว่าราคาตลาด
ก้อเปิดให้สิทธิผู้ถือหุ้นเดิมจองก่อนตามสิทธิ 2:1. ในราคานั้นถ้าผู้ถือหุ้นเดิมจองหมดก้อได้เงินครบไม่ต้องขายPP
ถ้าเหลือจากการจองซื้อ เท่าไรก้อเอาไปแบ่งให้ผู้ซื้อPP ตามส่วนเช่นเหลือ250ล้านหุ้นก้อแบ่งให้คนล่ะ50 ล้านหุ้นเป็นต้น
ถ้ามีคนไม่เอาก้อเอาไปเพิ่มให้กับคนที่ต้องการตามส่วน
อีกทั้งปัจจุบันยังมีรูปแบบการขายหุ้นเพิ่มทุนที่คล้ายกับขายPP แบบนี้เช่นกรณีของEIC ที่ขายหุ้นกู้แปลงสภาพให้กับ AO จำนวน500ล้านบาทอัตราดอกเบี้ย2%
เพิ่มเติมข้อมูลให้เพื่อนๆสำหรับหุ้นกู้ ก้อคล้ายพันธบัตร หรือสัญญาเงินกู้ที่ผู้ออก(บริษัทที่จะใช้เงิน)ออกให้กับผู้ซื้อหรือเจ้าของเงินโดยกำหนดผลตอบแทนดอกเบี้ย และกำหนดเวลาไว้
ส่วนหุ้นกู้แปลงสภาพจะมีเงื่อนไขพิเศษที่นอกจากเลือกรับดอกเบี้ยแล้วอาจจะกำหนดให้ผู้ถือหุ้นกู้เลือกแปลงเป็นหุ้นสามัญได้ในราคาที่จะกำหนดไว้
กรณีของEIC ให้AO เลือกแปลงได้โดยใช้ราคา85% ของราคาเฉลี่ย3วันทำการ ซึ่งมันเหมือนกับเลือกเอาเงินกู้นั้นมาเลือกซื้อหุ้นได้ราคาถูกกว่าตลาด
และที่น่าเกลียดไปกว่านั้น กรณีหุ้นกู้แปลงสภาพที่EIC ขายให้กับAO วงเงิน500ล้านแทนที่จะปล่อยรับเงินมาทีเดียว500ล้านแล้วเลือกแปลง
แต่กลับให้ทางAO ค่อยๆทะยอยซื้อครั้งล่ะ10ล้าน-30ล้านบาทแล้วหลังจากซื้อไม่กี่วันก้อขอแปลงเป็นหุ้นราคาถูกเลย ซึ่งดูแล้วก้อเหมือนกับทะยอยขายหุ้นPP ราคา85% ให้AO ตามแต่ทางAO จะเลือกซื้อเลือกจ่ายเลย
วิธีการอย่างนี้ก้ออยากเห็นทางตลาดเข้ามาดูแลให้เป็นธรรมกับนักลงทุนรายย่อยไม่ให้ผู้บริหารเอาเปรียบด้วยเช่นกัน
ใครมีความเห็นอะไรชาวยกันเพิ่มเติมได้นะครับจะได้สะท้อนเสียงจากเม่าไปเข้าหูผู้บริหารและผู้ดูแลตลาดหลักทรัพย์ให้เป็นธรรมมากที่สุด
ปลวันนี้เอาไอแพ่ดจิ้มถ้าพิมผิดเด๋วมาแก้อีกทีครับ
=== ระดมความเห็นรายย่อยและข้อเสนอถึงผู้บริหารและตลาดหลักทรัพย์เรื่องการขายหุ้นแบบPP ให้เป็นธรรม===
http://ppantip.com/topic/32623326
ต้องบอกว่าการขายหุ้นแบบpp หรือขายให้กับบุคคลเฉพาะที่ไม่ใช่ผู้ถือหุ้นเดิมทำได้
ซึ่งโดยมากมักอ้างว่าขายให้กับผู้ร่วมทุนที่จะเข้ามาเกื้อหนุนธุรกิจให้ประโยชน์กับบริษัท
แต่ระยะหลังมักจะอ้างว่า ถ้าขายให้ผู้ถือหุ้นเดิม (Right) อาจจะล่าช้าได้เงินไม่ทันการหรือขายได้ไม่ครบทั้งจำนวนบริษัทเลยไปตกลงหาคนมาร่วมทุนต่างหาก
มองตามเหตุผลที่กล่าวอ้างก้อฟังได้.
แต่มองว่าเป็นการเอาเปรียบผู้ถือหุ้นเดิมที่ถูกdilute ด้วยหุ้นเพิ่มทุนราคาถูกก้อได้เช่นกัน(เอาไปขายนอกตลาดให้กับคนที่ไม่ได้ถือหุ้นซึ่งอาจจะเป็นพวกเดียวกับผู้บริหารก้อได้)
กรณีอย่างนี้เกิดขึ้นบ่อยมากในระยะหลังตัวอย่างเช่นบริษัทTSF หรือ GEL ที่เพิงขายPP ราคา.55สตางค์ให้กับนักลงทุน5รายจำนวนถึง1800ล้านกว่าหุ้น หรือคิดเป็น50% ของหุ้นเดิมซึ่งถือว่าเยอะมาก แถมเปิดช่วงเวลาให้เลือกซื้อชำระค่าหุ้นได้นานหลายเดือนและทะยอยเข้าซื้อขายในตลาดได้เป็นระยะได้อีก
การกระทำลักษณะนี้มองในฐานะผู้ถือหุ้นเดิม ก้อจะคิดว่าถูกผู้บริหารเอาเปรียบได้
ดังนั้นเพื่อความโปร่งใสอยากเห็นตลาดมีนโยบายป้องกันการเอาเปรียบผู้ถือหุ้นในกรณีอย่างนี้
เช่นถ้าขายให้กับคนที่จะเกื้อหนุนธุรกิจจริงต้องมีหลักฐานแสดงให้เห็นได้ว่าจะมีประโยชน์อย่างไร
แต่ถ้าเป็นขายเพื่อระดมทุน เท่านั้นควรเปิดโอกาสให้กับผู้ถือหุ้นเดิมตัดสินใจก่อน
เช่นบริษัท A มีหุ้นเดิม พันล้านหุ้น
จะออกหุ้นเพิ่มทุนแบบ PP ให้นักลงทุน5 รายรายล่ะ100ล้านหุ้น. ในราคาต่ำกว่าราคาตลาด
ก้อเปิดให้สิทธิผู้ถือหุ้นเดิมจองก่อนตามสิทธิ 2:1. ในราคานั้นถ้าผู้ถือหุ้นเดิมจองหมดก้อได้เงินครบไม่ต้องขายPP
ถ้าเหลือจากการจองซื้อ เท่าไรก้อเอาไปแบ่งให้ผู้ซื้อPP ตามส่วนเช่นเหลือ250ล้านหุ้นก้อแบ่งให้คนล่ะ50 ล้านหุ้นเป็นต้น
ถ้ามีคนไม่เอาก้อเอาไปเพิ่มให้กับคนที่ต้องการตามส่วน
อีกทั้งปัจจุบันยังมีรูปแบบการขายหุ้นเพิ่มทุนที่คล้ายกับขายPP แบบนี้เช่นกรณีของEIC ที่ขายหุ้นกู้แปลงสภาพให้กับ AO จำนวน500ล้านบาทอัตราดอกเบี้ย2%
เพิ่มเติมข้อมูลให้เพื่อนๆสำหรับหุ้นกู้ ก้อคล้ายพันธบัตร หรือสัญญาเงินกู้ที่ผู้ออก(บริษัทที่จะใช้เงิน)ออกให้กับผู้ซื้อหรือเจ้าของเงินโดยกำหนดผลตอบแทนดอกเบี้ย และกำหนดเวลาไว้
ส่วนหุ้นกู้แปลงสภาพจะมีเงื่อนไขพิเศษที่นอกจากเลือกรับดอกเบี้ยแล้วอาจจะกำหนดให้ผู้ถือหุ้นกู้เลือกแปลงเป็นหุ้นสามัญได้ในราคาที่จะกำหนดไว้
กรณีของEIC ให้AO เลือกแปลงได้โดยใช้ราคา85% ของราคาเฉลี่ย3วันทำการ ซึ่งมันเหมือนกับเลือกเอาเงินกู้นั้นมาเลือกซื้อหุ้นได้ราคาถูกกว่าตลาด
และที่น่าเกลียดไปกว่านั้น กรณีหุ้นกู้แปลงสภาพที่EIC ขายให้กับAO วงเงิน500ล้านแทนที่จะปล่อยรับเงินมาทีเดียว500ล้านแล้วเลือกแปลง
แต่กลับให้ทางAO ค่อยๆทะยอยซื้อครั้งล่ะ10ล้าน-30ล้านบาทแล้วหลังจากซื้อไม่กี่วันก้อขอแปลงเป็นหุ้นราคาถูกเลย ซึ่งดูแล้วก้อเหมือนกับทะยอยขายหุ้นPP ราคา85% ให้AO ตามแต่ทางAO จะเลือกซื้อเลือกจ่ายเลย
วิธีการอย่างนี้ก้ออยากเห็นทางตลาดเข้ามาดูแลให้เป็นธรรมกับนักลงทุนรายย่อยไม่ให้ผู้บริหารเอาเปรียบด้วยเช่นกัน
ใครมีความเห็นอะไรชาวยกันเพิ่มเติมได้นะครับจะได้สะท้อนเสียงจากเม่าไปเข้าหูผู้บริหารและผู้ดูแลตลาดหลักทรัพย์ให้เป็นธรรมมากที่สุด
ปลวันนี้เอาไอแพ่ดจิ้มถ้าพิมผิดเด๋วมาแก้อีกทีครับ